Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                             จังหวัดเพชรบูรณ มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจสําคัญที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรก ไดแก ขาว ออยโรงงาน
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว และมันสําปะหลัง ตามลําดับ (ตารางที่ 2)


                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดเพชรบูรณ

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                        1,265,211                     27.85
                             2. ออยโรงงาน                    958,405                     21.10

                             3. ขาวโพดเลี้ยงสัตว            466,275                     10.27
                             4. มันสําปะหลัง                  271,794                      5.98
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564


                         2.1  ขาว
                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเพชรบูรณ สภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม

                       มีความเหมาะสมในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 488,539 ไร คิดเปนรอยละ 10.89
                       ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 122,279 ไร อําเภอศรีเทพ 83,878

                       ไร และอําเภอเมืองเพชรบูรณ 77,205 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,019,419 ไร คิดเปนรอยละ
                       22.72 ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเพชรบูรณ 217,057 ไร อําเภอ
                       หนองไผ 180,162 ไร และอําเภอวิเชียรบุรี 147,636 ไร

                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 158,178 ไร คิดเปนรอยละ 3.52
                       ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 42,569 ไร อําเภอศรีเทพ
                       17,170 ไร อําเภอหลมเกา 15,576 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,821,076 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 69,343 ไร คิดเปนรอยละ 14.19 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอหลมสัก 43,395 ไร อําเภอเมืองเพชรบูรณ 23,652 ไร และอําเภอวังโปง 2,279 ไร

                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 941,348 ไร คิดเปนรอยละ 92.34 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเพชรบูรณ 215,306 ไร  อําเภอหนองไผ 175,927 ไร
                       และอําเภอวิเชียรบุรี 130,821 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 155,347 ไร คิดเปนรอยละ 98.21 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 42,569 ไร อําเภอวังโปง 33,002 ไร และอําเภอ

                       ศรีเทพ 17,170 ไร
                                  (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 99,173 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17