Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                             2) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ํา หรือลําน้ําสาขา
                       วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       แตละฝงอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน
                               (1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก

                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ําตาลปนเทา และน้ําตาล มีจุดประ
                       สีตาง ๆ การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว อาทิ ชุดดินเฉลียงลับ (Cl)
                               (2) ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน

                       ดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล เหลือง น้ําตาลปนแดง ไป
                       จนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินเพชรบูรณ (Pe) และชุดดินน้ําเลน (Nal) เปนตน
                               (3) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ
                       ถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาล เหลือง

                       จนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินดงยางเอน (Don)
                               (4) ลานตะพักปูนมารล (Marl terrace) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึง
                       ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินตื้นถึงชั้นปูนมารล เนื้อดินเปนดินเหนียวถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก

                       สีน้ําตาลเขม สีดํา การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินตาคลี (Tk)
                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่ หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลก
                       เปนระยะทางใกล ๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญมีหินที่เปน
                       วัตถุตนกําเนิดดินปะปนใหเห็นทั้งในหนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้

                               (1) พัฒนาจากหินทราย ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนทรายปน
                       ดินรวนถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีถึงมากเกินไป
                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน อาทิ ชุดดินวังน้ําเขียว (Wk)

                               (2) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญเปน
                       หินดินดานและหินฟลไลต ดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินเหนียวละเอียด สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง และน้ําตาล
                       ปนเหลือง การระบายน้ําดี เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws) และชุดดินกลางดง (Kld) เปนตน
                               (3) พัฒนาจากหินปูน ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้น เนื้อดินเปนดินเหนียวละเอียดถึง

                       ดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี พบเศษหินปะปนใน
                       หนาตัดดินหรือบนผิวดิน อาทิ ชุดดินหินซอน (Hs)
                               (4) พัฒนาจากกลุมหินอัคนีหรือหินในกลุม ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปน
                       ชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี เชน ชุดดิน

                       ชัยบาดาล (Cd) และชุดดินลํานารายณ (Ln) เปนตน
                               (5) พัฒนาจากหินไรโอไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สี
                       น้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินไพศาลี (Phi)
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14