Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
1.6 พื้นที่ชลประทาน
จังหวัดเพชรบูรณ มีเนื้อที่ชลประทาน 87,637 ไร (รอยละ 1.13 ของพื้นที่จังหวัด) กระจายอยู
ใน 7 อําเภอ มีอางเก็บน้ําที่สําคัญ 10 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ําไดรวม 180.93 ลานลูกบาศกเมตร
(ตารางผนวกที่ 2 - 3)
1.7 เขตปฏิรูปที่ดิน
เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณมีเนื้อที่ 1,742,339 ไร (รอยละ 22.01 ของพื้นที่จังหวัด)
โดยอําเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อําเภอวิเชียรบุรี อําเภอบึงสามพัน และอําเภอศรีเทพ
ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 4)
1.8 การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดเพชรบูรณมีการขึ้น
ทะเบียนเกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมดในป 2563 จํานวน 202,638 ราย รวมพื้นที่
3,007,063 ไร กิจกรรมที่มีพื้นที่ปลูกมาก ไดแก ขาวนาป ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันสําปะหลังโรงงาน
ออยโรงงาน ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 5)
ทะเบียนเกษตรกรพืชสมุนไพร จากฐานขอมูลกลาง (Farmer One) ของสํานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร เกษตรกรไดขึ้นทะเบียนปลูกพืชสมุนไพรในจังหวัดเพชรบูรณ พื้นที่ 2,444.71 ไร เกษตรกร
206 ราย มีพืชสมุนไพรหลัก 17 ชนิด สมุนไพรที่มีการปลูกมาก ไดแก พริกไทย กฤษณา และกระชายดํา
ตามลําดับ (ตารางผนวกที่ 6)
1.9 ที่ตั้งโรงงานและแหลงรับซื้อสินคาเกษตร
จังหวัดเพชรบูรณมีแหลงรับซื้อสินคาเกษตรและสหกรณการเกษตรที่สําคัญ จํานวน 65 แหง
และมีโรงงานทางการเกษตร 103 แหง โดยมีลานตากและแหลงรับซื้อมากที่สุด 36 แหง (ตารางผนวกที่ 7)
2. การวิเคราะหพืชเศรษฐกิจหลัก
พืชเศรษฐกิจที่สําคัญพิจารณาจากพืชที่มีพื้นที่ปลูกมากและมีมูลคาการสงออกหรือแปรรูป
โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณประกาศพืชเศรษฐกิจ 13 ชนิดพืช ไดแก ขาว มันสําปะหลัง
ยางพารา ปาลมน้ํามัน ออยโรงงาน ขาวโพดเลี้ยงสัตว สับปะรดโรงงาน ลําไย เงาะ ทุเรียน มังคุด
มะพราว และกาแฟ จากพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจดังกลาว กรมพัฒนาที่ดินไดกําหนดระดับความ
เหมาะสมของพื้นที่ปลูกรายจังหวัด โดยวิเคราะหจากสภาพพื้นที่ ลักษณะของดิน ปริมาณน้ําฝน
แหลงน้ําชลประทาน รวมกับการจัดการพื้นที่และลักษณะรายพืช โดยแบงระดับความเหมาะสม เปน
4 ระดับ ไดแก
ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง
ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชใหผลตอบแทนสูง แตพบ
ขอจํากัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได
ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีขอจํากัดการของดินและน้ํา สงผลใหการผลิตพืช
ใหผลตอบแทนต่ํา การใชพื้นที่ตองใชตนทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ําทวมและขาดน้ํา
ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N)