Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                1







                       1. ขอมูลทั่วไป


                             จังหวัดเพชรบูรณ มีพื้นที่ 12,668.416 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,917,760 ไร ตั้งอยูในภาคเหนือ
                       ของประเทศไทย ประกอบดวย 11 อําเภอ 116 ตําบล (ตารางภาคผนวกที่ 1)  มีประชากร 981,940 คน
                       (กรมการปกครอง, 2563)

                         1.1  อาณาเขตติดตอ
                             ทิศเหนือ      ติดตอ  จังหวัดเลย

                             ทิศใต       ติดตอ  จังหวัดลพบุรี
                             ทิศตะวันออก   ติดตอ  จังหวัดขอนแกน และจังหวัดชัยภูมิ
                             ทิศตะวันตก    ติดตอ  จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดนครสวรรค และจังหวัดพิจิตร

                         1.2  ภูมิประเทศ

                             สภาพภูมิประเทศของจังหวัดเพชรบูรณเปนเทือกเขารูปเกือกมา รอบพื้นที่ดานเหนือของ
                       จังหวัด และมีแนวขนานกันไปทั้งสองขางทั้งทิศตะวันออกและทิศตะวันตก พื้นที่ราบเปนสวนใหญอยู
                       ตอนกลาง ดานใตของจังหวัดเปนพื้นที่ลาดชัน มีแมน้ําปาสักเปนแมน้ําสายสําคัญที่สุด ตนน้ําเกิดจาก
                       ภูเขาผาลาในจังหวัดเลย มีหวยลําธารหลายสายเกิดจากภูเขาเพชรบูรณ แมน้ําปาสักไหลตอนกลาง
                       ของจังหวัดผานอําเภอหลมเกา หลมสัก เมืองเพชรบูรณ หนองไผ บึงสามพัน วิเชียรบุรี และศรีเทพ


                         1.3  ภูมิอากาศ
                             สภาพภูมิอากาศของจังหวัดเพชรบูรณ เนื่องจากพื้นที่จังหวัดมีภูเขาลอมรอบจึงทําใหอากาศ
                       รอนจัดในฤดูรอน หนาวจัดในฤดูหนาว โดยเฉพาะพื้นที่อําเภอน้ําหนาว เขาคอ และหลมเกา
                       มีอากาศหนาวที่สุด พื้นที่ภูเขามีอากาศเย็นตลอดทั้งป ฤดูรอนเริ่มในเดือนมีนาคมถึงเมษายน ฤดูฝน
                       เริ่มเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม และฤดูหนาวในเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ


                         1.4  ทรัพยากรดิน
                             ทรัพยากรดินของจังหวัดเพชรบูรณ แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และวัตถุตนกําเนิดดิน
                       ไดดังนี้
                             1) ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ําหรือลําธาร หนาฝนหรือหนาน้ํา มักมี

                       น้ําทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ําพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น
                       หลังน้ําทวม แบงเปน
                               (1)  สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กนอย เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพาบริเวณริมฝงแมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ํา ดินลึก

                       เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินปาสัก (Pa)
                               (2) ที่ลุมหลังสันดินริมน้ํา (Back swamp, basin) เปนที่ลุมน้ําขังอยูระหวางสันดินริมน้ํา
                       กับตะพักลําน้ํา หรือดานขางหุบเขา ดินมีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว ดินลึกมาก เนื้อดินเหนียว
                       ละเอียด สีเทาและน้ําตาลปนเทา การระบายน้ําเลว เชน ชุดดินบานโภชน (Bpo) และชุดดินทาพล (Tn)

                       เปนตน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13