Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               10








                         2.2  ออยโรงงาน
                               ออยโรงงานเปนพืชเศรษฐกิจหลักของเพชรบูรณลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตร
                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกออยโรงงาน

                                 ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 19,367 ไร คิดเปนรอยละ 0.43 ของ
                       เนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเพชรบูรณ 10,041 ไร และอําเภอหลมสัก
                       9,326 ไร
                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,721,546 ไร คิดเปนรอยละ

                       38.37 ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 420,024 ไร อําเภอศรีเทพ
                       310,989 ไร และอําเภอบึงสามพัน 219,793 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 901,977 ไร คิดเปนรอยละ 20.10
                       ของเนื้อที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอชนแดน 261,680 ไร อําเภอวิเชียรบุรี

                       173,732 ไร และอําเภอหนองไผ 113,499 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,844,038 ไร
                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกออยโรงงานในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 753,879 ไร คิดเปนรอยละ 43.79 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 300,231 ไร อําเภอศรีเทพ 241,863 ไร และ
                       อําเภอชนแดน 53,858 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 201,190 ไร คิดเปนรอยละ 22.31 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอวิเชียรบุรี 94,189 ไร อําเภอบึงสามพัน 36,022 ไร
                       และอําเภอชนแดน 32,176 ไร
                                  (3) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,336 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกออยโรงงานแตยังไมใชพื้นที่
                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับปลูกออยโรงงาน และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน ในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเพชรบูรณมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 987,034 ไร กระจายอยูในอําเภอ

                       ตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองเพชรบูรณ 215,958 ไร รองลงมา
                       ไดแก อําเภอหลมสัก 148,144 ไร อําเภอวิเชียรบุรี 119,793 ไร และอําเภอหนองไผ 111,425 ไร โดยมี
                       รายละเอียดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 19,367 ไร คิดเปนเนื้อที่ทั้งหมดของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากในอําเภอเมืองเพชรบูรณ 10,041 ไร  และอําเภอหลมสัก 9,326 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 967,667 ไร คิดเปนรอยละ 56.21 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอเมืองเพชรบูรณ 205,917 ไร  อําเภอหลมสัก 138,818 ไร และอําเภอ
                       วิเชียรบุรี 119,793 ไร
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22