Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 10
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
3
(6) พัฒนาจากหินบะซอลต/แอนดิไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปนดิน
รวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีแดงเขม แดงปนน้ําตาลเขม ดํา และน้ําตาลเขม การระบายน้ําดี เชน
ชุดดินโคกปรือ (Kok) และชุดดินเชียงของ (Cg) เปนตน
(7) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้น เนื้อดินเปนดิน
รวนหยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง ถึงแดง การระบายน้ําดี อาทิ
ชุดดินทับเสลา (Tas)
4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา
และเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดเพชรบูรณในภาพที่ 1 - 5
1.5 สภาพการใชที่ดิน
สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดเพชรบูรณ จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดินของกรม
พัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดเพชรบูรณ
เนื้อที่
ประเภทการใชที่ดิน
ไร รอยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง 388,555 4.93
พื้นที่เกษตรกรรม 4,542,143 51.34
พื้นที่นา 1,280,880 16.17
พืชไร 2,397,866 30.28
ไมยืนตน 444,988 5.61
ไมผล 355,407 4.49
พืชสวน 10,743 0.14
ไรหมุนเวียน 16,038 0.20
ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว 26,765 0.33
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 8,215 0.10
เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวนผสม 1,241 0.02
พื้นที่ปาไม 2,726,508 34.44
พื้นที่น้ํา 115,060 1.45
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 145,494 1.84
รวม 7,917,760 100.00
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน, 2563