Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                8








                       ตารางที่ 3 (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                            9,991    58,101    15,576    269,326   352,994
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ           42,186    15,576     11,466    69,228
                         หลมเกา                              -
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)          (72.61%)  (100.00%)   (4.26%)   (19.61%)
                                                            9,991    15,915                         25,906
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (100.00%)   (27.39%)                       (7.34%)
                                                           74,906   130,322    11,312    236,794   453,334
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   43,395   129,249   11,312    11,684   195,640
                         หลมสัก
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (57.93%)   (99.18%)  (100.00%)   (4.93%)   (43.16%)
                                                           31,511     1,073                         32,584
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                         (42.07%)   (0.82%)                        (7.19%)
                                                         488,539  1,019,419   158,178  2,821,076  4,487,212
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   69,343   941,348   155,347   99,173  1,265,211
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (14.19%)  (92.34%)  (98.21%)   (3.52%)  (28.20%)
                                                         419,196     78,071                        497,267
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (85.81%)    (7.66%)                       (11.08%)

                              ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรง
                       ตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                              เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรสงเสริม
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวได คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกออยโรงงาน (S3) 101,504 ไร พื้นที่

                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (N) 39,358 ไร และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง (S3) 21,947 ไร แตเนื่องจาก
                       นโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการขาว ตองการรักษาดุลภาพผลผลิตขาว ดังนั้นจึงควร
                       พิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของตลาด (ตารางที่ 4)
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20