Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               26







                       แหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอโพธิ์ประทับชาง อําเภอ
                       บึงนาราง และอําเภอโพทะเล
                                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน

                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอดงเจริญ
                       อําเภอโพทะเล และอําเภอโพธิ์ประทับชาง
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1  สมโอพันธุทาขอย ผลไมขึ้นชื่อของจังหวัดพิจิตร มีจุดเดนตรงเนื้อสมสีชมพูออน เนื้อแนน
                       ไมมีเมล็ด รสชาติออกหวานแกมเปรี้ยวกลมกลอมจึงไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยว ตามประวัติ
                       สมโอทาขอย มีการปลูกครั้งแรกที่บานนายบัว ผูใหญบานทาขอย ตําบลเมืองเกา อําเภอเมืองพิจิตร เมื่อ

                       ประมาณ 100 กวาปที่ผานมาแตไมมีหลักฐานแนชัดวานําพันธุมาจากที่ใด ตอมาไดมีการขยายพื้นที่ปลูก
                       มากขึ้นทั้งยังไดมีการนําพันธุไปปลูกที่อําเภอโพธิ์ประทับชางกอนขยายไปในอําเภอตาง ๆของจังหวัด
                       นอกจากนี้เกษตรกรในเขตจังหวัดใกลเคียง เชน กําแพงเพชร พิษณุโลก สุโขทัย เปนตน ยังไดติดตอขอ

                       ซื้อกิ่งพันธุไปปลูกดวย เนื่องจากสมโอทาขอยเปนที่นิยมในการบริโภคจึงขายไดราคาดี ดวยคุณภาพ
                       ดานรสชาติและกิ่งพันธุของสมโอทาขอย ทําใหจังหวัดพิจิตรกลายเปนแหลงผลิตสมโอที่สําคัญและ
                       มีชื่อเสียงมากที่สุดในเขตภาคเหนือ โดยจะใหผลผลิตออกสูทองตลาดในชวงเดือนตุลาคม-เมษายนของทุกป

                         3.2  ขาวขาวกอเดียวพิจิตร มีลักษณะเดนคือเมล็ดขาวเรียวยาวสามารถสีเปนขาวสารได100
                       เปอรเซ็นต เมื่อหุงสุกขาวจะรวนคอนขางแข็ง สวนของปลายขาวสามารถใชผลิตเสนขนมจีน

                       เสนกวยเตี๋ยว เพราะมีความขนหนืด ซึ่งเปนคุณสมบัติดั้งเดิมของขาวขาวกอเดียวพิจิตร นอกจากนี้
                       ยังเปนขาวนาปไวตอแสง ทําใหลําตนมีความสูงถึง 190 เซนติเมตร จึงเหมาะที่จะปลูกในพื้นที่ลุมที่มี
                       น้ําหลากในชวงฤดูฝนของจังหวัดพิจิตร

                         3.3  มะมวงน้ําดอกไม เปนมะมวงที่นิยมรับประทานสุก ทั้งในประเทศและตางประเทศ
                       โดยเฉพาะประเทศญี่ปุน เนื่องจาก ผลสุกมีสีเหลืองทอง สวยงาม เนื้อมีสีเหลืองอมครีม เนื้อแนนปานกลาง

                       มีความนุม และรสหวาน นิยมรับประทานเปนผลไมสุกหรือใชทําขนมหวาน ผลดิบมีรสเปรี้ยวมาก
                       ผลสุกมีความหวานนอยกวามะมวงอื่น ๆ มีกลิ่นหอมนอย ผลสุกมีเปลือกบาง ทําใหช้ํางายเวลาขนสง
                       ไมทนตอโรคแอนแทรกโนส

                         3.4   แตงโม พันธุที่นิยมปลูกกันมากโดยทั่วไปจะมีอยู 3 สายพันธุหลัก ๆ คือ พันธุธรรมดาทั่วไป
                       (เมล็ดมีขนาดเล็ก รสหวาน เชน แตงโมจินตหรา แตงโมตอรปโด แตงโมกินรี แตงโมน้ําผึ้ง แตงโมไดอานา

                       แตงโมจิ๋ว เปนตน) สายพันธุตอมาก็คือ พันธุไรเมล็ด (เปนพันธุผสมผลิตเพื่อสงออก) และพันธุกินเมล็ด
                       (ปลูกเพื่อนําเมล็ดมาคั่วที่เรียกกันวา "เม็ดกวยจี๋") การเตรียมดินและปลูก ไดไถดะ ไถแปร จัดการไถ
                       พลิกดินใหพื้นที่เปนสันรองสูง 30 เซนติเมตร กวาง 1 เมตร ระหวางสันรองหางกัน 3 เมตร ตากแดด
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38