Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               21







                         2.4  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             ขาวโพดเลี้ยงสัตวพืชเศรษฐกิจหลักของพิจิตรในลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
                             1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 112,212 ไร คิดเปนรอยละ 4.46
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอวชิรบารมี 28,300 ไร อําเภอบึงนาราง
                       24,056 ไร และอําเภอโพธิ์ประทับชาง 19,303 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 362,429 ไร คิดเปนรอยละ

                       14.41 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภออําเภอโพทะเล 74,721 ไร อําเภอ
                       เมืองพิจิตร 56,195 ไร และอําเภอบึงนาราง 54,794 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 53,644 ไร คิดเปนรอยละ 2.13
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอทับคลอ 34,968 ไร อําเภอวังทรายพูน 7,397 ไร

                       และอําเภอสากเหล็ก 6,770 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,987,287 ไร
                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 3,360 ไร คิดเปนรอยละ 2.99 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอโพธิ์ประทับชาง 1,325 ไร อําเภอบึงนาราง 1,306 ไร และอําเภอโพทะเล
                       338 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 11,646 ไร คิดเปนรอยละ 3.21 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอดงเจริญ 3,474 ไร อําเภอโพทะเล 2,476 ไร และ
                       อําเภอโพธิ์ประทับชาง 2,210 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 2,698 ไร คิดเปนรอยละ 5.03 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอดงเจริญ 1,334 ไร อําเภอทับคลอ 1,084 ไร และ
                       อําเภอวังทรายพูน 280 ไร
                                   (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 6,296 ไร

                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตไมใช
                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือใน
                       ระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 459,635ไร กระจายอยู
                       ในอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอโพทะเล 89,584 ไร
                       รองลงมา อําเภอบึงนาราง 75,925 ไร อําเภอเมืองพิจิตร 58,400 ไร และอําเภอโพธิ์ประทับชาง

                       56,873 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 108,852 ไร คิดเปนรอยละ 97.01
                       ของพื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอวชิรบารมี 28,237 ไร อําเภอบึงนาราง 22,750 ไร อําเภอ
                       โพธิ์ประทับชาง 17,978 ไร
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33