Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               28







                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 1,776,190 ไร

                       อยูในทุกเขตอําเภอของจังหวัดพิจิตร โดยอําเภอที่ปลูกขาวมากที่สุดของจังหวัดพิจิตร ไดแก อําเภอเมืองพิจิตร
                       อําเภอตะพานหิน และอําเภอบางมูลนาก ตั้งอยูในเขตชลประทาน ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการ

                       พัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด
                       และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ

                       พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํา
                       มาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)
                       และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการ

                       ปรับปรุงบํารุงดิน
                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่

                       171,260 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอทับคลอ อําเภอบึงนาราง อําเภอวชิรบารมี และกระจายตัวอยู
                       ทุกอําเภอของจังหวัดพิจิตร เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี

                       หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก การสนับสนุนดานการชลประทาน จะสราง
                       ความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสูง

                       สําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน หรือเกษตรทฤษฎีใหม
                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน
                       ปลูกขาวอยู ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือ

                       เกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดินสนับสนุนแหลงน้ําใหเกษตรกรเลือก
                       ปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม เปนการสรางรายได และผลิตอาหารเพื่อบริโภค

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได
                       ใชพื้นที่ปลูกขาว โดยหันมาปลูกออยโรงงานแทน เกษตรกรเปนสมาชิกชาวไรออยโรงงานของโรงงาน
                       น้ําตาล ทําขอตกลงซื้อขายผลผลิต เกษตรกรมีความมั่นใจมากกวาการปลูกขาวแตในอนาคตเกษตรกร

                       สามารถกลับมาปลูกขาวหรือทําการเกษตรแบบผสมผสานไดอีก

                         4.2  ออยโรงงาน

                             1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
                       มีเนื้อที่ 4,147 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอโพทะเล อําเภอตะพานหิน และอําเภอเมืองพิจิตร

                       ตามลําดับ ทั้งนี้ตามแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย พ.ศ. 2560-2564
                       มียุทธศาสตร สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต
                       อุตสาหกรรม ออยน้ําตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตออยโรงงานในพื้นที่ที่มี

                       ศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต สงเสริมใหเกษตรกรใชปุยอินทรียแบบคุณภาพสูง พรอมทั้ง
                       มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปญหาภาวะโลกรอน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40