Page 37 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               30







                             3) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสําปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
                       ผลผลิตต่ํา เปนตน ควรสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมีวิธี

                       ปองกันและแกไขปญหาที่ลดตนทุน และควรใหความชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ให
                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อ บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต

                       (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ภาครัฐควรสราง
                       ความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม

                         4.4  ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       อยู มีเนื้อที่ 3,360 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอโพธิ์ประทับชาง อําเภอบึงนาราง อําเภอโพทะเล

                       ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนให
                       เปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการระบบน้ํา การจัดการดิน
                       ปุย พันธุขาวขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาด

                       ในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และ
                       การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) เนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง

                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       ยางพาราอยู มีเนื้อที่ 11,646 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอดงเจริญ อําเภอโพทะเล อําเภอโพธิ์ประทับชาง

                       ตามลําดับ รัฐควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา อาทิ ชลประทาน จะสรางความมั่นใจ
                       ใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มี

                       ความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม
                             3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู แตมีจํานวนนอย ภาครัฐควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากิน

                       ในพื้นที่ดังกลาว โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกร
                       เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อ

                       บริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)
                       เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน อาทิ ขาว ภาครัฐควร

                       สรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42