Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               27







                       7-10 วัน แลวไถตีฝุน จัดวางระบบน้ําหยด วางผาพลาสติกดําที่เจาะรูไวแลว คลุมใหอยูกลางรองแปลง
                       ผาพลาสติกดําจะชวยเก็บรักษาความชื้นและปองกันวัชพืช การปลูกไดขุดดินเปนหลุมปลูกกวางและ
                       ลึกพอประมาณ นําตนกลาพันธุแตงโมลงปลูกเกลี่ยดินกลบ แตละหลุมปลูก จะมีระยะหางกัน 30 เซนติเมตร
                       พื้นที่ 1 ไร จะปลูกได 850-900 ตน

                         3.5  เมลอน เปนพืชในตระกูลแตงที่นิยมปลูกเพื่อการคาชนิดหนึ่งที่มีราคาตอผลสูง เนื่องจาก

                       เปนแตงที่มีรสหอมหวาน มีคุณคาทางโภชนาการ ประกอบดวยวิตามินเอ และวิตามินซีสูงจึงเปนแตง
                       ที่ที่นิยมบริโภคกันมากไมแพแตงโมเลยทีเดียว เมลอนเปนพืชตระกูลเดียวกันกับแตงไทย บางทองที่เรียก
                       แตงเทศ หรือ แตงหอม มีลักษณะผลคอนขางใหญ น้ําหนักมาก เปลือกหนา สวนผิวเปลือกมีทั้งแบบเรียบ
                       และแบบมีรางแห หรือ มีรองยาวจากขั้วถึงทายผล เนื้อมีสีสมหรือสีเหลือง มีรสหวาน และมีกลิ่นหอม

                       ในตางประเทศมีแหลงปลูกที่สําคัญไดแก สหรัฐอเมริกา อเมริกากลาง และเม็กซิโก สวนประเทศไทย
                       พบการปลูกมากในจังหวัดนครสวรรค ปราจีนบุรี และสระแกว พันธุที่นิยมปลูก ไดแก พันธุฮันนี่
                       พันธุซันเลดี้ และพันธุฮันนี่ดิว

                         3.6  พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green
                       Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่

                       ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสาระสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย
                       ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564
                       โดยดําเนินการภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวย

                       ใหเกษตรกร  ผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพจากฐานขอมูล Agri-Map- Online
                       จังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน ขมิ้นชัน บัวบก เปนตน
                             ขมิ้นชัน เปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบายน้ําดี
                       ไมชอบน้ําขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน โดยพื้นที่
                       จังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) 371,555 ไร กระจายอยู

                       ในอําเภอเมืองพิจิตร อําเภอตะพานหิน อําเภอบางมูลนาก อําเภอโพธิ์ประทับชาง อําเภอโพทะเล
                       อําเภอสามงาม อําเภอวังทรายพูน อําเภอทับคลอ อําเภอสากเหล็ก อําเภอดงเจริญ และอําเภอบึงนาราง
                             บัวบก เปนพืชลมลุกขนาดเล็ก เปนผักพื้นบานและสมุนไพร ปลูกงายเลื้อยยาวไปตามดิน

                       แตกรากตาม ขอใบ ชอบขึ้นในพื้นที่ที่ชื่นแตไมแฉะมาก หรือน้ําทวมขัง โดยมากจะขึ้นตามใตตนไมใหญ
                       หรือทองรองในสวนและตามคันนา ขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ดหรือตัดแยก ไหลที่มีตนออนและราก
                       นําไปปลูกในที่มีแสงแดดพอควร ก็จะเจริญเติบโตไดดี โดยพื้นที่จังหวัดพิจิตรมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูก
                       บัวบกที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 1,315 ไร กระจายอยูในอําเภอโพทะเล อําเภอสามงาม

                       อําเภอบางมูลนาก และอําเภอเมืองพิจิตร
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39