Page 36 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               29







                             2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
                       มีเนื้อที่ 74,602 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอบึงนาราง อําเภอสามงาม และอําเภอโพธิ์ประทับชาง
                       ตามลําดับ เกษตรกรยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการ

                       เพาะปลูก สนับสนุนใหมีการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ
                       การบริหารจัดการน้ํา ใหมีเพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก พรอมทั้งสงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสีย

                       จากโรงงานน้ําตาล และการนําของเสียจากโรงงานน้ําตาลไปใชในการปรับปรุงบํารุงดินในไรออยเพื่อ
                       เพิ่มผลผลิตและลดตนทุนใหแกเกษตรกรชาวไรออยโดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ สิ่งแวดลอม และชุมชน

                             3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา เปนตน

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนใหการชวยเหลือ
                       เกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภค
                       ในครัวเรือน หรือเขาโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) เปนตน รวมทั้งจัดหา

                       ตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงาน แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกออยโรงงาน พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ทั้งนี้ ในกรณี
                       ที่เกษตรกรปลูกขาว ภาครัฐควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการ

                       ปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม หากเกษตรกรตองการกลับมาใชพื้นที่ปลูกออยโรงงานเหมือนเดิม
                       จะไดไมไมตองมีตนทุนการผลิตสูงในการปรับปรุงบํารุงดิน

                         4.3  มันสําปะหลัง

                             1) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลังอยู
                       มีเนื้อที่ 10,629 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอโพทะเล อําเภอบึงนาราง อําเภอโพธิ์ประทับชาง

                       ตามลําดับ ทั้งนี้ตามมาตรการยุทธศาสตรมันสําปะหลัง 2564 -2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึง
                       พันธุมันสําปะหลังตานทานโรค (Cassava Mosaic Disease: CMD) ใหเชื้อแปงสูงและมีผลผลิต
                       เฉลี่ยตอไรไมต่ํากวา 5 ตัน ภายในป 2567 นั้น ทําใหเนนมีการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังในพื้นที่ที่มี

                       ศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต สงเสริมการทําระบบน้ําหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ และควร
                       เรงหาทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนา และโรคใบดางของมันสําปะหลัง

                             2) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       มันสําปะหลังอยู มีเนื้อที่ 9,595 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอสามงาม อําเภอวชิรบารมี อําเภอโพธิ์ประทับชาง

                       ตามลําดับ เกษตรกรยังคงปลูกมันสําปะหลังไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน
                       ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้นในเรื่องของคุณภาพดิน และทําการตรวจวิเคราะหคุณภาพดิน

                       อยูเสมอมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสงตัด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสําปะหลัง
                       เบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา อาทิ การแปรรูปมันเสนสะอาด
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41