Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพิจิตร
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรง
ตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควรพิจารณา
ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3) 14,957 ไร โดย
อําเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว
ขาว (ไร)
อําเภอ
S3 N รวม
ดงเจริญ 1,268 - 1,268
ตะพานหิน 3,077 - 3,077
ทับคลอ - - -
บางมูลนาก - - -
บึงนาราง - - -
โพทะเล 7,240 - 7,240
โพธิ์ประทับชาง - - -
เมืองพิจิตร 2,211 - 2,211
วชิรบารมี - - 0
วังทรายพูน 555 - 555
สากเหล็ก 606 - 606
สามงาม - - -
รวม 14,957 - 14,957
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิต
และไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการ
ตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ
เกษตรแมนยํา เปนตน
พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปน