Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               13








                       ตารางที่ 6 พื้นที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตออยโรงงาน

                                                     ขาว (ไร)                     ยางพารา (ไร)
                            อําเภอ
                                            S3          N         รวม         S3        N         รวม
                        คีรีมาศ             4,014           -     4,014         196        -        196

                        ทุงเสลี่ยม         2,582        146      2,728       1,211        -      1,211
                        บานดานลานหอย   18,811          142    18,953          207        -        207
                        เมืองสุโขทัย         965            -       965         110        -        110

                        ศรีนคร                 22           -        22          60        -         60
                        ศรีสัชนาลัย         8,496        193      8,689       1,651        -       1,651
                        ศรีสําโรง           4,417           -     4,417         363        -        363

                        สวรรคโลก            4,627           -     4,627         105        -        105
                             รวม          43,934         481    44,415        3,903        -      3,903


                             4) แนวทางการจัดการ

                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกออยโรงงานตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มี
                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกออยโรงงานในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่

                       สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกออยโรงงาน
                       ในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกออยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกออยโรงงาน
                       ที่สําคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูอําเภอสวรรคโลก อําเภอคีรีมาศ และอําเภอทุงเสลี่ยม

                                 พื้นที่ปลูกออยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ออยโรงงานในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกออยโรงงาน เชน ความอุดม
                       สมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น โดยกระจายอยูในอําเภอสวรรคโลก อําเภอศรีสัชนาลัย

                       และอําเภอคีรีมาศ
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกออยโรงงาน มีตนทุนที่ต่ํา
                       และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาตลาดและแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.3  มันสําปะหลัง

                             มันสําปะหลังพืชเศรษฐกิจหลักของสุโขทัยในลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ
                       Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 282,697 ไร คิดเปนรอยละ 10.36
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอสวรรคโลก 106,644 ไร อําเภอคีรีมาศ

                       66,966 ไร และอําเภอศรีนคร 42,229 ไร
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25