Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุโขทัย
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               14








                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ มีเนื้อที่ 517,626 ไร คิดเปน
                       รอยละ 18.98 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดินในจังหวัด กระจายอยูในอําเภอบานดานลานหอย 131,787
                       ไร อําเภอศรีสัชนาลัย 121,973 ไร และอําเภอสวรรคโลก 108,884 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 177,138 ไร คิดเปนรอยละ 6.49

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 65,636 ไร อําเภอศรีสัชนาลัย
                       55,381 ไร และอําเภอทุงเสลี่ยม 38,731 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,750,222 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดิน ไดดังนี้

                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 3,463 ไร คิดเปนรอยละ 1.22 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 1,815 ไร อําเภอคีรีมาศ 940 ไร และอําเภอศรีสัชนาลัย
                       479 ไร

                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 74,809 ไร คิดเปนรอยละ 14.45 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 47,694 ไร อําเภอทุงเสลี่ยม
                       13,411 ไร และอําเภอศรีสําโรง 7,847 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 60,587 ไร คิดเปนรอยละ 34.20 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอบานดานลานหอย 36,660 ไร อําเภอทุงเสลี่ยม 11,822 ไร

                       และอําเภอศรีสําโรง 7,557 ไร
                                   (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกมันสําปะหลัง มีเนื้อที่ 473 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในชั้น
                       ความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดสุโขทัยมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง

                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 722,051 ไร โดยกระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดย
                       อําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอสวรรคโลก 215,291 ไร รองลงมาไดแก อําเภอ
                       ศรีสัชนาลัย 154,968 ไร อําเภอคีรีมาศ 94,990 ไร และอําเภอบานดานลานหอย 86,531 ไร โดยมี

                       รายละเอียดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 279,234 ไร คิดเปนรอยละ 98.78 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอสวรรคโลก 106,644 ไร อําเภอคีรีมาศ 66,026 ไร และอําเภอศรีนคร
                       35,975 ไร

                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 442,817 ไร คิดเปนรอยละ 85.55
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอศรีสัชนาลัย 118,993 ไร อําเภอสวรรคโลก 108,647 ไร
                       และอําเภอบานดานลานหอย 84,093 ไร
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26