Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                8








                              4) แนวทางการจัดการ
                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี

                       ซึ่งการปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน
                       เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน

                                  พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
                       ขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัด กระจาย

                       อยูในอําเภอแมสะเรียง และอําเภอเมืองแมฮองสอน
                                  พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี

                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
                       และแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอเมืองแมฮองสอน อําเภอปาย และอําเภอขุนยวม
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา

                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา โดยพิจารณา
                       แหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.2  ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                              ขาวโพดเลี้ยงสัตวจัดเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดแมฮองสอน จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 6,258 ไร คิดเปนรอยละ 3.59
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 2,958 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน
                       2,449 ไร และอําเภอปาย 488 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 43,439 ไร คิดเปนรอยละ
                       24.89 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 20,417 ไร อําเภอแมสะเรียง

                       6,932 ไร และอําเภอขุนยวม 5,932 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 32,791 ไร คิดเปนรอยละ
                       18.79 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภออําเภอปาย 10,686 ไร อําเภอแมสะเรียง

                       8,748 ไร และอําเภอขุนยวม 6,056 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 92,024 ไร
                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้

                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 345 ไร คิดเปนรอยละ 5.51 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองแมฮองสอน 169 ไร อําเภอปางมะผา 124 ไร และอําเภอแมสะเรียง 41 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 5,032 ไร คิดเปนรอยละ 11.58 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 4,037 ไร อําเภอขุนยวม 381 ไร และอําเภอแมลานอย

                       243 ไร
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20