Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9








                                (3)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 5,167 ไร คิดเปนรอยละ 15.76 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 1,682 ไร อําเภอแมสะเรียง 1,336 ไร และ
                       อําเภอขุนยวม 812 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,485 ไร

                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยัง
                       ไมใชพื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว ในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแมฮองสอนมีพื้นที่ศักยภาพ
                       คงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 55,074 ไร

                       กระจายอยูในอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอปาย 24,953 ไร
                       รองลงมาไดแก อําเภอแมสะเรียง 10,097 ไร และ อําเภอขุนยวม 6,313 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 6,603 ไร คิดเปนรอยละ 94.49 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอแมสะเรียง 2,999 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน 2,618 ไร อําเภอปาย 499 ไร

                                (2)  พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 48,471 ไร คิดเปนรอยละ 88.42 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอปาย 24,454 ไร อําเภอแมสะเรียง 7,098 ไร อําเภอขุนยวม
                       6,313 ไร
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21