Page 14 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 14

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                7








                       ตารางที่ 3  (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                         1,813     1,013      352       5,593     8,771
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   77     962       352        163      1,554
                         สบเมย
                                 เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)   (4.25%)   (94.97%)   (100.00%)   (2.91%)   (17.72%)
                                                         1,736       51                           1,787
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                        (95.37%)   (5.03%)                       (20.37%)
                                                        23,010     28,733    7,150     145,814   204,707
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   8,539   24,902   7,150    3,922     44,513
                         จังหวัด  เหมาะสมตางๆ (ปลูกจริง)  (37.11%)  (86.67%)  (100.00%)  (2.69%)  (21.74%)
                                                        14,471     3,831                          18,302
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                       (62.89%)  (13.33%)                        (8.94%)


                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่จะ

                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวได คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (N) 1,103 ไร แตเนื่องจาก
                       นโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการขาวตองการรักษาดุลภาพผลผลิตขาว ดังนั้น จึงควร
                       พิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของตลาด (ตารางที่ 4)


                       ตารางที่ 4  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาว

                                                                  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             อําเภอ
                                                  S3                  N                    รวม

                         ปาย                      -                 609                    609
                         เมืองแมฮองสอน          -                 257                    257
                         ขุนยวม                   -                 123                    123

                         แมสะเรียง               -                  63                    63
                         แมลานอย                -                  38                    38
                         สบเมย                    -                  13                    13

                              รวม                 -                1,103                  1,103
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19