Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                         2.1  ขาว
                              ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดแมฮองสอน สภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม
                       มีความเหมาะสมในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 23,010 ไร คิดเปนรอยละ 11.24 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 10,192 ไร อําเภอปาย 4,486 ไร และ
                       อําเภอเมืองแมฮองสอน 4,329 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 28,733 ไร คิดเปนรอยละ
                       14.04 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 8,203 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน
                       7,860 ไร และอําเภอขุนยวม 5,126 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 7,150 ไร คิดเปนรอยละ 3.49 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 3,492 ไร อําเภอปาย 1,460 ไร และ
                       อําเภอแมลานอย 824 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 145,814 ไร

                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                (1)  พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 8,539 ไร คิดเปนรอยละ 37.1 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 7,711 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน 656 ไร และอําเภอสบเมย 77 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 24,902 ไร คิดเปนรอยละ 55.95 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองแมฮองสอน 7,739 ไร อําเภอปาย 5,950 ไร และ

                       อําเภอขุนยวม 4,351 ไร
                                (3)  พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 7,150 ไร คิดเปนรอยละ 100.00 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสะเรียง 3,492 ไร อําเภอปาย 1,460 ไร และอําเภอ

                       แมลานอย 824 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,922 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ

                       (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดแมฮองสอนมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และ
                       ความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 18,302 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอปาย 6,739 ไร รองลงมา อําเภอเมืองแมฮองสอน 3,794 ไร
                       และอําเภอแมสะเรียง 2,729 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 14,471 ไร คิดเปนรอยละ 62.89 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอปาย 4,486 ไร อําเภอเมืองแมฮองสอน 3,673 ไร อําเภอแมสะเรียง 2,481 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 3,831 ไร คิดเปนรอยละ 13.33
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอําเภอปาย 2,253 ไร อําเภอขุนยวม 775 ไร อําเภอปางมะผา

                       378 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17