Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2








                       ไดแก สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย
                       เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพาบริเวณริมฝงแมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ํา ดินลึก เนื้อดิน
                       รวนหยาบ สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินเชียงใหม (Cm)
                              2) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ําหรือลําน้ํา

                       สาขา วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       แตละฝงอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน
                                (1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียด ดินทรายแปงละเอียดหรือดินรวนหยาบ สีเทา น้ําตาลปนเทา และน้ําตาล

                       มีจุดประสีตางๆ การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินหางดง (Hd) ชุดดินแมขาน (Mkn)
                                (2) ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and high terrace) เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน
                       ดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล สีเหลือง สีน้ําตาลปนแดง

                       ไปจนถึงสีแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินแมริม (Mr) ชุดดินสันปาตอง (Sp)
                                (3)  เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึง
                       ลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาล เหลืองจนถึง

                       สีแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินกําแพงเพชร (Kp) ชุดดินหางฉัตร (Hc)
                              3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของโลกใน
                       ระยะทางใกลๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหินปะปนใน
                       หนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้

                                (1)  พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อหยาบหรือหินในกลุม สวนใหญเปนหินทราย
                       และหินควอรตไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินรวน
                       ปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง น้ําตาลปนแดง จนถึงแดง การระบายน้ําดี พบเศษหิน

                       ปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินทายาง (Ty) ชุดดินลาดหญา (Ly)
                                (2) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญเปนพวก
                       หินดินดานและหินฟลไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว
                       ละเอียดถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง และน้ําตาลปนเหลือง การระบายน้ําดี

                       พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws) ชุดดินลี้ (Li)
                                (3) พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก
                       เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง ถึงแดง การระบายน้ําดี
                       เชน ชุดดินภูสะนา (Ps) ชุดดินหนองมด (Nm)

                              4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา
                       และเทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่
                                ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดแมฮองสอนในภาพที่ 1 - 5
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14