Page 20 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               13







                         2.3  มันสําปะหลัง
                                มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดตากลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)


                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                                  ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 160,591 ไร คิดเปนรอยละ 10.60
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 93,399 ไร อําเภอแมระมาด 27,517 ไร
                       และอําเภอพบพระ 23,449 ไร

                                  ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 642,499 ไร คิดเปนรอยละ
                       42.41 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 232,747 ไร อําเภอวังเจา
                       89,410 ไร และอําเภอแมสอด 76,532 ไร
                                  ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 299,629 ไร คิดเปนรอยละ

                       19.77 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอแมสอด 61,528 ไร อําเภอสามเงา
                       49,491 ไร และอําเภอบานตาก 48,650 ไร
                                  ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 412,374 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดิน ไดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 6,888 ไร คิดเปนรอยละ 4.29 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอวังเจา 2,446 ไร อําเภอแมสอด 1,676 ไร และอําเภอพบพระ 1,474 ไร
                                  (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 111,286 ไร คิดเปนรอยละ 17.32 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 47,318 ไร อําเภอวังเจา 41,683 ไร และ
                       อําเภอบานตาก 6,432 ไร
                                  (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 29,206 ไร คิดเปนรอยละ 9.75 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองตาก 11,882 ไร อําเภอสามเงา 7,490 ไร และ
                       อําเภอพบพระ 2,924 ไร
                                  (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,044 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตยังไมใชพื้นที่

                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังใน
                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดตากมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 684,916 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอที่มี
                       พื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองตาก 186,863 ไร รองลงมา อําเภอแมสอด

                       166,706 ไร อําเภอแมระมาด 91,285 ไร และอําเภอบานตาก 62,986 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                  (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 153,703 ไร คิดเปนรอยละ 95.71 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอแมสอด 91,723 ไร อําเภอแมระมาด 26,344 ไร อําเภอพบพระ
                       21,975 ไร
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25