Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตาก
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                               12







                                  เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่จะ
                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวได คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว (N) 25,988 ไร และมันสําปะหลัง
                       (S3) 4,371 ไร แตเนื่องจากนโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการขาวตองการรักษาดุล
                       ภาพผลผลิตขาว ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของ

                       ตลาด (ตารางที่ 6)

                       ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาว

                                               ขาวโพดเลี้ยงสัตว                   มันสําปะหลัง
                           อําเภอ
                                         S3          N          รวม         S3          N         รวม
                         ทาสองยาง           -        315         315         76           -         76
                         บานตาก             -       3,877      3,877         10           -         10
                         พบพระ               -       1,214      1,214        112           -        112
                         เมืองตาก            -        921         921       2,642          -       2,642
                         แมระมาด            -           -          -           -          -           -
                         แมสอด              -       1,582      1,582         28           -         28
                         วังเจา             -        179         179        235           -        235
                         สามเงา              -      17,750     17,750       1,268          -       1,268
                         อุมผาง             -        150         150           -          -           -
                            รวม               -     25,988     25,988       4,371           -      4,371


                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการ

                       ปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย
                       ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
                       ขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยู

                       อําเภอบานตาก อําเภอเมืองตาก อําเภอแมสอด
                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี
                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง

                       และแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอแมระมาด อําเภอแมสอด อําเภอวังเจา
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา โดยพิจารณา
                       แหลงรับซื้อรวมดวย
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24