Page 43 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               36







                       ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หรือ
                       ถาตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปนพืชที่มีผลตอบแทนดีกวาและใชตนทุนต่ํากวา
                              3)  พื้นที่ปลูกลําไยในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกลําไยอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและสหกรณ
                       ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุนการปรับ

                       โครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ประชาสัมพันธ ใหความรูแนวทางการบริหารจัดการ
                       ใหแกเกษตรกร ในกรณีที่ลําไยถึงอายุตองโคนทิ้ง ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มี

                       ความเหมาะสมและใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ
                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                              4)  พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกลําไยแตเกษตรกรหันมาปลูกพืชอื่น
                       ทดแทน เชน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ยางพารา ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร ในอนาคตสามารถกลับมาปลูกลําไย
                       ไดอีก แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน อาจเปนเรื่องยาก โดยเฉพาะการปลูกไมผล เชน ทุเรียน ที่ปจจุบัน

                       ราคาดี แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิตรวมดวย ภาครัฐควรประชาสัมพันธและสรางมาตรการจูงใจให
                       เกษตรกรกลับมาปลูกลําไยในพื้นที่นี้ แตทั้งนี้ตองพิจารณาลักษณะทางการตลาดรวมดวย

                         4.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                              1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 1,148 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภออําเภอเชียงดาว อําเภอไชยปราการ และ

                       อําเภอแมแตง ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอ
                       แผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหาร

                       จัดการระบบน้ํา การจัดการดิน ปุย พันธุขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนา
                       ตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํา

                       มาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)
                       และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควร
                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากราคาไมดีหรือประสบปญหาโรค แมลงรบกวน และเกษตรกร

                       ตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปลี่ยนเปนพืชไร เพื่อในอนาคตจะไดกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก
                              2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 38,356 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอแมแจม อําเภอแมอาย และ
                       อําเภอเชียงดาว เกษตรกรยังคงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดิน

                       ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจ
                       ใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความ

                       เหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐ
                       ควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น ทั้งนี้หากขาวโพด
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48