Page 45 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               38







                              3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคง
                       ใชที่ดินปลูกยางพาราอยู อาจสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน
                       เชน สงเสริมใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน ยาสูบ แตงโม พืชไร และพืชผักตาง ๆ ทดแทน การใหการ

                       ชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภค
                       ในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)   เปนตน ทั้งนี้

                       ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชไร หรือพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                           4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกยางพารา แตปจจุบันเกษตรกรไมได

                       ใชพื้นที่ปลูกยางพารา พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ไมผล ไมยืนตน ควรเนนใหเกษตรกรปลูก
                       พืชดังกลาวตอไป เนื่องจากปจจุบันตามมาตรการยุทธศาสตรยางพารา เนนการลดพื้นที่การปลูก

                       ยางพาราอยูแลว ฉะนั้นควรสรางความตระหนักใหเกษตรกร เนนการทําการเกษตรแบบผสมผสาน หรือ
                       การเขารวมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม หรือวนเกษตร เพื่อทําใหเกษตรกรสามารถใชพื้นที่อยางคุมคา
                       มากที่สุดตอไป
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50