Page 38 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               31







                       ตารางที่ 9  (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3        N         รวม

                                                          809       6,855    19,453     8,277     35,394
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ                     36                   36
                         อมกอย                            -         -                    -
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)                    (0.19%)              (0.10%)

                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ   809      6,855       -         -        7,664
                                                        (100.00%)   (100.00%)                    (21.65%)
                                                                             93,756     49,649    143,405
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน   -         -
                                                                            (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                          ฮอด    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   -       -         814        -        814
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)                    (0.87%)              (0.57%)

                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ   -         -          -         -         -
                                                        139,677    358,595   614,541   1,387,707   2,500,520
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   3,561   6,643   4,321      424      14,949
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)  (2.55%)   (1.85%)   (0.70%)   (0.03%)   (0.60%)
                                                        136,116    351,952                        488,068
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                        -         -
                                                        (97.45%)   (98.15%)                      (19.52%)

                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
                       ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรพิจารณา
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 20,843 ไร แตเนื่องจาก

                       ยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20  ป (พ.ศ. 2560-2579) กําหนดที่จะลดพื้นที่ปลูกยางพาราใหเหลือประมาณ
                       18.4 ลานไร ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับความตองการของตลาด
                       (ตารางที่ 10)
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43