Page 40 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               33







                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกยางพารา
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1  กาแฟเทพเสด็จพันธุอาราบิกา (GI) กาแฟที่นี่ขึ้นทะเบียน GI สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรได

                       เมื่อป 2560 ที่ผานมา โดยเชื่อมโยงกับพื้นที่ตําบลเทพเสด็จ สูงจากระดับทะเลปานกลาง 1100-1300
                       เมตร ทําใหเกิดลักษณะพิเศษกับกาแฟที่นี่ คือ หอมดอกไมปา และมีกลิ่นถั่วออนๆผสมดวย เก็บ
                       เกี่ยวเมล็ดกาแฟชวงเดือนมกราคม-มีนาคม ในสมัยกอน ตําบลปาเมี่ยงและตําบลเทพเสด็จ คือ

                       ตําบลปาเมี่ยงทั้งหมด ตอมาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 เสด็จ เยี่ยมราษฎร และ ติดตามงาน
                       ในโครงการปาเมี่ยง ไดพระราชทาน ตนเมี่ยง และตนกาแฟ เพื่อสงเสริมปลูกในพื้นที่ เพื่อสรางรายได

                       และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา (ตําแหนงในสมัยนั้น) ไดเสด็จลงพื้นที่อีก 2 ครั้ง เมื่อมีโอกาส
                       แยกตําบลใหมออกมา จึงขอพระราชทานชื่อ “เทพเสด็จ” มาเปนชื่อตําบล นับตั้งแตนั้นมาชาวบานแมตอน

                       ตําบลเทพเสด็จ อําเภอดอยสะเก็ด ไดปลูกกาแฟมากขึ้น จนกลายเปนรายไดหลัก

                         3.2  สตรอวเบอรรี่ โครงการหลวงไดนําพันธุสตรอวเบอรรี่จากตางประเทศมาทดลองปลูก
                       ประมาณ 40 พันธุ คัดไวได 2 พันธุ นําไปใหชาวบานทดลองปลูก ปรากฏวามีพันธุสตรอวเบอรรี่ที่

                       เกษตรกรนิยม 1 พันธุ คือ พันธุพระราชทานเบอร 16 จึงนําไปสงเสริมใหแกราษฎรพื้นราบของเมืองเชียงใหม
                       ปลูกจําหนายสูตลาด ซึ่งเปนที่นิยมของคนไทยทั่วไป ตอมาไดมีการปรับปรุงพันธุสตรอวเบอรรี่เพื่อให

                       มีความเหมาะสมกับสภาพ แวดลอมของประเทศไทย รวมถึงการศึกษาการปฏิบัติรักษาที่ดีขึ้น ปจจุบัน
                       เกษตรกรในโครงการหลวงไดปลูกสตรอวเบอรรี่พันธุพระราชทาน 80 ซึ่งมีรสชาติหวาน อรอยและ
                       มีกลิ่นหอม เปนผลไมที่ใหผลผลิตในชวงฤดูหนาวซึ่งไดรับความนิยม ชื่นชอบกันในกลุมของผูบริโภคชาวไทย

                       โดยเก็บเกี่ยวออกผลตั้งแตชวงปลายเดือนพฤศจิกายนถึงตนมีนาคม

                         3.3  กีวี เปนผลไมที่มีคุณคาทางอาหารสูง โดยเฉพาะวิตามินซี สามารถนํามารับประทานสด และ
                       ใชประกอบอาหาร เชน แยม เยลลี่ ไอศครีม น้ําผลไมกีวี เปนตน ชอบอากาศหนาวเย็นในบางชวง

                       และเจริญเติบโตไดดีในดินรวน ดินรวนปนทรายที่มีหนาดินลึก ไมชอบพื้นที่น้ําขัง หนาดินแนนหรือ
                       เปนดินเหนียวมาก ดินมีลักษณะเปนกรดเล็กนอย เก็บผลผลิตในชวงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ปลูกไดดี
                       ที่สถานีเกษตรหลวงอางขาง และแนะนําสงเสริมใหชาวเขาปลูกเปนพืชเศรษฐกิจ

                         3.4  บวย เปนผลไมอีกชนิดหนึ่งที่สงเสริมใหเกษตรกรชาวเขาไดปลูก เพื่อทดแทนการปลูกฝน
                       โครงการหลวง ปลูกบวยครั้งแรกที่สถานีวิจัยเกษตรหลวงอางขางอําเภอฝางจังหวัดเชียงใหมเมื่อ

                       ป พ.ศ. 2517 ตอมาไดขยายพื้นที่ปลูกหลายแหงในพื้นที่โครงการหลวงสายพันธุที่โครงการหลวง
                       นําเขามาทดลองปลูกวิจัยพัฒนาและสงเสริมใหเกษตรกรชาวเขาไดแกพันธุที่ผลคอนขางกลมคือ
                       “พันธุปงติง”(Ping Ting) และพันธุที่ผลคอนขางแหลม คือ “พันธุเจนโถ”(Jen Toa) เปนสายพันธุที่

                       นําเขามาจากไตหวัน บวยเปนไมผลที่ปลูกงายและไมตองดูแลรักษามากนัก จึงเหมาะสําหรับชาวเขา
                       ในปหนึ่ง ๆ มีผลผลิตหลายสิบตัน ซึ่งเปนความตองการของตลาดมาก บวยจะมีการเก็บเกี่ยวใน
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45