Page 44 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               37







                       เลี้ยงสัตวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก
                              3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน

                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน

                       ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ
                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขาโครงการบริหาร

                       จัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน
                       พืชไร เชน ขาว ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวได
                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้น

                       อาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตอง
                       พิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย

                         4.4  ยางพารา

                              1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อที่
                       3,561 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอแมอาย อําเภอฝาง และอําเภอแมแตง ตามลําดับ ทั้งนี้โดย

                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงปลูก
                       ยางพาราคุณภาพดีที่สําคัญของจังหวัด ควรมีการคัดเลือกพันธุใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ

                       ตานทานโรคการปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพการปลูกพืชแซมและพืชคลุมดิน
                       ใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของยาง รวมทั้งการบํารุงรักษา การใสปุยการตัดแตงกิ่ง

                       และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ํายางสูงมีคุณภาพและตรงตามมาตรฐาน โดยเนนการพัฒนาการ
                       ตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง และสงเสริม
                       ใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง มีการบริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอด

                       กิจการใหกับคนรุนใหม
                              2)  พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู

                       มีเนื้อที่ 6,643 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอฝาง อําเภอพราว และอําเภอไชยปราการ ซึ่งเกษตรกร
                       ยังคงปลูกยางพาราไดผลดี ควรสนับสนุนใหมีเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนนการจัดการที่เหมาะสม

                       ในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่เหมาะสมสูง โดย เฉพาะการปรับปรุงบํารุงดิน เนนการพัฒนาการ
                       ตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                       ใหมากขึ้น การสงเสริมใหมีการโคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่
                       เดิมเชนกันกับพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง รวมถึงการพัฒนาตลาดและชองทางจัดจําหนายใหมากขึ้น
                       โดยเนนการแปรรูปยาง หรือไมยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49