Page 42 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงใหม่
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               35







                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใช
                       ที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตร
                       แบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ

                       เกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเปลี่ยน
                       การผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก

                              3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน
                       ปลูกขาวอยู 60,164 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและ

                       สหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม

                       ที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ
                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช

                       พื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนตน ในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวไดเหมือนเดิม แตหาก

                       เปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทํา
                       เกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน

                         4.2  ลําไย

                           1) พื้นที่ปลูกลําไยที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกลําไยอยู มีเนื้อที่ 134,604 ไร
                       มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอสันกําแพง อําเภอแมอาย และอําเภอดอยสะเก็ด และกระจายตัวใน

                       พื้นที่เล็ก ๆ ในอําเภอตาง ๆ ของจังหวัดเชียงใหม ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมี
                       การเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนพื้นที่ปลูกลําไยที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ํา

                       อยางดี รวมทั้งการจัดการดินและปุยตามมาตรฐาน สงเสริมใหมีการใชปุยใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                       สนับสนุนการรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ สรางเครือขายในรูปแบบของสหกรณหรือกลุมเกษตรกร
                       หรือวิสาหกิจชุมชน กับโรงงานแปรรูปลําไย หรือพอคาที่รับซื้อลําไยเพื่อการสงออก ปรับเปลี่ยนวิถีการผลิต

                       สูการผลิตผลไมครบวงจร เชน บริหารจัดการผลผลิตแบบปองกันความเสี่ยงโดยใชการตลาดนําการผลิต
                       เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาใหเกษตรกรเพาะปลูกตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)

                       เนนการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีการพัฒนาคุณภาพลําไยทั้งในและนอกฤดู ใหสอดคลองตาม
                       ฤดูกาล การผลิตผลไมคุณภาพตามแหลงกําเนิดภูมิศาสตร (GI) และไมผลอัตลักษณของจังหวัด

                              2) พื้นที่ปลูกออยลําไยที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกลําไยอยู
                       มีเนื้อที่ 257,484  ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอจอมทอง อําเภอพราว และอําเภอดอย เกษตรกรยังคง

                       ปลูกลําไยไดผลดี เนื่องจากเปนไมผล ซึ่งบางชวงมีความตองการการใชน้ําในปริมาณที่มาก
                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน แหลงน้ําในไรนานอกเขตชลประทาน
                       ใชปจจัยการผลิตในอัตราและชวงเวลาที่เหมาะสม จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรผูปลูกลําไย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47