Page 22 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                               17


                                T4                3.09               3.62                 3.07

                                T5                2.58               2.93                 2.43
                                T6                2.84               3.76                 2.29
                                T7                2.81               3.06                 2.92
                                T8                2.97               2.72                 2.72

                            DMRT(.05)              NS                 NS                   NS
                              CV(%)               21.00              24.01                21.57

                         หมายเหตุ  ns หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ



                              4
                             3.5
                              3
                             2.5
                            OM (%)   2


                             1.5
                                                                                ก่อนการทดลอง
                              1
                                                                                หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 1
                             0.5
                                                                                หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 2
                              0
                                   T1   T2   T3    T4   T5   T6    T7   T8
                                                 ตํารับการทดลอง



                  ภาพที่ 2  การเปลี่ยนแปลงปริมาณอินทรียวัตถุในดินกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2

                             1.3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน

                         กอนการทดลอง พบวา ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) มี
                  คาอยูในชวง 7.33-18.67 mg/kg  ตํารับการทดลองที่ 1 วิธีเกษตรกร มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน
                  สูงที่สุด คือเทากับ 18.67 mg/kg ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งกับตํารับที่ 2 3 4 5 6 7 และ 8 ซึ่งมี
                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน เทากับ 7.33 10.67 13.00 9.67 11.33 12.67 และ 11.00 ตามลําดับ

                  (ตารางที่ 3 และภาพที่3)
                         ในปที่ 1 พบวา ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) ไมมีความ
                  แตกตางทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 12.33-174.0 mg/kg ตํารับการทดลองที่ 8
                  ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน สูงที่สุด คือเทากับ

                  174.0 mg/kg ตํารับการทดลองที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 3 ใสปุยหมัก
                  จุลินทรีย พด.9 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร ซึ่งมีคาเทากับ 12.33 mg/kg  (ตารางที่ 3 และภาพที่ 3)
                         ในปที่ 2 พบวา ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) ไมมีความ
                  แตกตางทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 11.67-265.67 mg/kg ตํารับการทดลองที่ 7

                  ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,200 กิโลกรัมตอไร มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน สูงที่สุด คือเทากับ
                  265.67 mg/kg ตํารับการทดลองที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 4 ใสปูนโดโล
                  ไมทตามคาความตองการปูน ซึ่งมีคาเทากับ 11.67 mg/kg  (ตารางที่ 3 และภาพที่ 3)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27