Page 27 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                                22


                         ในปที่ 1 ปริมาณแมกนีเซียมในดิน (ที่ระดับความลึก 0- 15 เซนติเมตร)  ไมมีความแตกตางทาง
                  สถิติในแตละตํารับการทดลอง  โดยมีคาอยูในชวง  1.41-2.72  cmol/kg  ตํารับการทดลองที่ 8  ใสเถาไม

                  ยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร  มีปริมาณแมกนีเซียมสูงที่สุด คือเทากับ 2.72 cmol/kg  ตํารับการ
                  ทดลองที่มีปริมาณแมกนีเซียมต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 3 ใสปุยหมักจุลินทรีย พด.9 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร มี
                  คาเทากับ 1.41 cmol/kg (ตารางที่ 6และภาพที่ 6)
                         ในปที่ 2 พบวาปริมาณแมกนีเซียมในดิน (ที่ระดับความลึก 0- 15 เซนติเมตร)  ไมมีความแตกตาง

                  ทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง  โดยมีคาอยูในชวง  1.31-3.08  cmol/kg  ตํารับการทดลองที่ 4 ใสปูน
                  โดโลไมทตามคาความตองการปูน   มีปริมาณแมกนีเซียมสูงที่สุด คือเทากับ 3.08  cmol/kg  ตํารับการ
                  ทดลองที่มีปริมาณแมกนีเซียมต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 1 วิธีเกษตรกร  มีคาเทากับ 1.31 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 6

                  และภาพที่ 6)
                  ตารางที่ 6  ปริมาณแมกนีเซียมที่สกัดไดในดินกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2
                                                           ปริมาณแมกนีเซียม (cmol/kg)
                    ตํารับการทดลอง
                                         กอนการทดลอง       หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต     หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                                                   ปที่ 1                  ปที่ 2
                           T1                1.76                  1.53                     1.31
                           T2                1.28                  1.56                     1.44

                           T3                0.64                  1.41                     1.41
                           T4                1.94                  2.42                     3.08
                           T5                1.24                  2.13                     1.79

                           T6                1.61                  2.55                     1.95
                           T7                1.63                  2.10                     2.26
                           T8                1.39                  2.72                     2.46

                       DMRT(.05)              NS                    NS                       NS
                         CV(%)               60.36                40.54                     42.89
                  หมายเหตุ      ns หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ


                        3.5

                         3

                        2.5
                      แมกนีเซียม(mg/kg)   1.5
                         2


                                                                                  ก่อนการทดลอง
                         1
                                                                                  หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 1
                        0.5                                                       หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 2

                         0
                              T1    T2     T3    T4    T5    T6    T7     T8
                                                ตํารับการทดลอง


                  ภาพที่ 6 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแมกนีเซียมที่สกัดไดในดินกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32