Page 24 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
ในปที่ 1 พบวา ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) มีคาอยู
ในชวง 71.33-1273.33 mg/kg ตํารับการทดลองที่ 8 ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร มี
ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนสูงที่สุด คือเทากับ 1273.33 mg/kg ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญกับ
ตํารับที่ 1 2 3 4 และ 5 ซึ่งมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน เทากับ 103.33 96.67 71.33 90.0 และ
300.0 ตามลําดับ แตไมแตกตางกับตํารับที่ 6 และ 7 ซึ่งมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนเทากับ
712.0 และ 1081.33 ตามลําดับ (ตารางที่ 4 และภาพที่ 4)
ในปที่ 2 พบวา ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) มีคาอยู
ในชวง 29.33-764.67 mg/kg ตํารับการทดลองที่ 8 ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร มี
ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนสูงที่สุด คือเทากับ 764.67 mg/kg ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง
กับตํารับที่ 1 2 3 4 และ 6 ซึ่งมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน เทากับ 33.33 43.33 29.33 41.67
และ 411.67 ตามลําดับ แตไมแตกตางกับตํารับที่ 5 และ 7 ซึ่งมีปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
เทากับ 572.67 และ 711.00 ตามลําดับ (ตารางที่ 4 และภาพที่ 4)
ตารางที่ 4 ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2
ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (mg/kg)
ตํารับการทดลอง
กอนการทดลอง หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
ปที่ 1 ปที่ 2
c
c
T1 121.67 103.33 33.33
c
c
T2 85.00 96.67 43.33
c
c
T3 118.0 71.33 29.33
c
c
T4 96.67 90.0 41.67
ab
bc
T5 69.33 300.0 572.67
b
abc
T6 110.00 712.0 411.67
ab
ab
T7 84.33 1081.33 711.00
a
a
T8 158.33 1273.33 764.67
DMRT(.05) NS * **
CV(%) 39.48 95.79 56.29
หมายเหตุ ns หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ
* หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P<0.05)
** หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P<0.01)
คาเฉลี่ยในคอลัมนเดียวกันที่ตามดวยอักษรเดียวกัน ไมแตกตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น
95 % โดยวิธี DMRT