Page 21 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                              16



                              8

                              7
                              6
                              5
                             pH   4

                              3
                              2                                                 ก่อนการทดลอง
                                                                                หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 1
                              1                                                 หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 2

                              0
                                                   T4
                                                         T5
                                  T1    T2    T3  ตํารับการทดลอง   T6  T7  T8


                  ภาพที่ 1การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดางของดินกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2


                             1.2 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                         กอนการทดลอง พบวาปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (ที่ระดับความลึก 0- 15 เซนติเมตร)  ไมมีความ

                  แตกตางทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 2.26-3.19 เปอรเซ็นต ตํารับการทดลองที่ 1
                  วิธีเกษตรกร  มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุด คือเทากับ 3.19  เปอรเซ็นต ตํารับการทดลองที่มีปริมาณ
                  อินทรียวัตถุต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 2 ใสปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน มีคาเทากับ 2.26 เปอรเซ็นต (ตารางที่ 2
                  และภาพที่ 2)

                         ในปที่ 1 พบวา ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) ไมมีความแตกตาง
                  ทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 2.72-3.76 เปอรเซ็นต ตํารับการทดลองที่ 6  ใสเถา
                  ไมยางพารา อัตรา 900 กิโลกรัมตอไร มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุด คือเทากับ 2.72 เปอรเซ็นต ตํารับการ
                  ทดลองที่มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 8 ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร ซึ่งมีคา

                  เทากับ 2.72 เปอรเซ็นต  (ตารางที่ 2 และภาพที่ 2)
                         ในปที่ 2 พบวา ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร) ไมมีความแตกตาง
                  ทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง  โดยมีคาอยูในชวง 2.29-3.13  เปอรเซ็นต ตํารับการทดลองที่ 1 วิธี
                  เกษตรกร  มีปริมาณอินทรียวัตถุสูงที่สุด คือเทากับ 3.13 เปอรเซ็นต ตํารับการทดลองที่มีปริมาณ

                  อินทรียวัตถุต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 6 ใสเถาไมยางพารา อัตรา 900 กิโลกรัมตอไร ซึ่งมีคาเทากับ 2.29
                  เปอรเซ็นต  (ตารางที่ 2 และภาพที่ 2)


                         ตารางที่ 2  ปริมาณอินทรียวัตถุในดินกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2

                                                               ปริมาณอินทรียวัตถุ (%)
                          ตํารับการทดลอง
                                             กอนการทดลอง            ปที่ 1              ปที่ 2
                                T1                3.29               3.31                 3.13
                                T2                2.26               2.77                 2.76
                                T3                3.16               2.81                 2.46
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26