Page 23 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                               18


                  ตารางที่ 3  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2

                                                       ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (mg/kg)
                      ตํารับการทดลอง
                                           กอนการทดลอง       หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต   หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต
                                                                    ปที่ 1                ปที่ 2
                                                    a
                            T1                 18.67                15.33                   23.0
                                                    c
                            T2                  7.33                14.33                   23.0
                                                    bc
                            T3                 10.67                12.33                   14.0
                                                    b
                            T4                 13.00                20.0                   11.67
                                                   bc
                            T5                 9.67                 23.67                  23.67
                                                    bc
                            T6                 11.33                81.0                    55.0
                                                    b
                            T7                 12.67                36.33                  265.67
                                                    bc
                            T8                 11.00                174.0                  198.33
                        DMRT(.05)                **                  NS                      NS
                          CV(%)                22.83               126.18                  136.55

                  หมายเหตุ      ns หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ
                                *   หมายถึง  แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P<0.05)
                                **  หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P<0.01)

                                  คาเฉลี่ยในคอลัมนเดียวกันที่ตามดวยอักษรเดียวกัน ไมแตกตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น
                                95 % โดยวิธี DMRT

                             300
                             250


                             200
                            Available P (mg/kg)   150
                             100
                              50                                                ก่อนการทดลอง
                               0                                                หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 1
                                                                                หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 2
                                   T1    T2   T3    T4   T5    T6   T7    T8

                                                   ตํารับการทดลอง

                  ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2

                             1.4 ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน
                         กอนการทดลอง พบวา ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร)

                  ไมมีความแตกตางทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง  69.33-158.33 mg/kg  ตํารับการ
                  ทดลองที่ 8  ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน สูงที่สุด
                  คือเทากับ 158.33 mg/kg ตํารับการทดลองที่มีปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 5 ใส
                  เถาไมยางพารา อัตรา 600 กิโลกรัมตอไร ซึ่งมีคาเทากับ 69.33 mg/kg  (ตารางที่ 4 และภาพที่ 4)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28