Page 25 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                                20



                            1400

                            1200

                           Available K (mg/kg)   800                                 ก่อนการทดลอง
                            1000



                             600

                             400
                                                                                     หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 2
                             200                                                     หลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 1

                               0
                                    T1    T2    T3    T4    T5   T6    T7    T8
                                                     ตํารับการทดลอง


                  ภาพที่ 4 การเปลี่ยนแปลงปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนกอนการทดลองถึงหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตปที่ 2


                             1.5 ปริมาณแคลเซียมในดิน
                         กอนการทดลอง พบวาปริมาณแคลเซียมในดิน (ที่ระดับความลึก 0- 15 เซนติเมตร)  ไมมีความ
                  แตกตางทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 1.61-6.29 cmol/kg ตํารับการทดลองที่ 4
                  ใสปูนโดโลไมทตามคาความตองการปูน มีปริมาณแคลเซียมสูงที่สุด คือเทากับ 6.29 cmol/kg  ตํารับการ
                  ทดลองที่มีปริมาณแคลเซียมต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 3 ใสปุยหมักจุลินทรีย พด.9 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร มี

                  คาเทากับ 1.61 cmol/kg (ตารางที่ 5และภาพที่ 5)
                         ในปที่ 1 พบวา ปริมาณแคลเซียมในดิน (ที่ระดับความลึก 0- 15 เซนติเมตร)  ไมมีความแตกตาง
                  ทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 3.89-15.91 cmol/kg  ตํารับการทดลองที่ 8  ใสเถา

                  ไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร  มีปริมาณแคลเซียมสูงที่สุด คือเทากับ 15.91  cmol/kg  ตํารับ
                  การทดลองที่มีปริมาณแคลเซียมต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 3 ใสปุยหมักจุลินทรีย พด.9 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร
                  มีคาเทากับ 3.89 cmol/kg (ตารางที่ 5และภาพที่ 5)
                         ในปที่ 2 พบวา ปริมาณแคลเซียมในดิน (ที่ระดับความลึก 0- 15 เซนติเมตร)  ไมมีความแตกตาง

                  ทางสถิติในแตละตํารับการทดลอง โดยมีคาอยูในชวง 3.38-13.89 cmol/kg  ตํารับการทดลองที่ 8  ใสเถา
                  ไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร  มีปริมาณแคลเซียมสูงที่สุด คือเทากับ 13.89  cmol/kg  ตํารับ
                  การทดลองที่มีปริมาณแคลเซียมต่ําที่สุด คือ ตํารับที่ 1 วิธีเกษตรกร มีคาเทากับ 3.38 cmol/kg (ตารางที่
                  5และภาพที่ 5)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30