Page 7 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        3


                                                    หลักการและเหตุผล

                        ปาล์มน้้ามันเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญของประเทศไทยเนื่องจากปาล์มน้้ามันใช้ในการอุปโภคบริโภค
               และในปัจจุบันมีบทบาทส้าคัญในการผลิตพลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล) ซึ่งสามารถให้ปริมาณน้้ามันต่อหน่วย

               พื้นที่สูงกว่าพืชน้้ามันทุกชนิด การปลูกปาล์มน้้ามันมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.
               2520 เป็นต้นมา เนื่องจากปาล์มน้้ามันเป็นพืชที่ดูแลรักษาง่าย ระยะเวลาในการให้ผลผลิตเร็ว ผลผลิต
               สามารถน้าไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆได้หลากหลายอีกทั้งยังมีผลตอบแทนสูง (ส้านักส้ารวจดินและวาง
               แผนการใช้ที่ดิน, 2552) ปัจจุบันมีเพียง 42 ประเทศจาก 223 ประเทศทั่วโลกที่สามารถปลูกปาล์มน้้ามันได้

               ในจ้านวนนี้มีเพียง 4 ประเทศที่สามารถปลูกปาล์มน้้ามันได้ผลดี ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย โคลัมเบีย ไทย และ
               อินโดนีเซีย (ส้านักส้ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน, 2552) รัฐบาลมีนโยบายในการผลิตพลังงานทดแทน
               รวมถึงการเพิ่มปริมาณการใช้น้้ามันปาล์มภายในประเทศให้มากขึ้นเพื่อลดการน้าเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน
               และจัดได้ว่าปาล์มน้้ามันเป็นพืชน้้ามันที่มีศักยภาพในการแข่งขันสูงกว่าพืชน้้ามันชนิดอื่น ทั้งด้านการผลิต

               การตลาดและส่วนแบ่งการผลิตน้้ามันปาล์มต่อน้้ามันพืชของโลกที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและ
               รวดเร็ว (กรมวิชาการเกษตร, 2548) ในช่วง 3 ปีที่ผ่านพบว่ามีพื้นที่ปลูกปาล์มน้้ามันเพิ่มขึ้นโดยในปี พ.ศ.
               2555-2557 มีพื้นที่ปลูก 4,385,804 4,484,115 และ 4,593,865 ไร่ตามล้าดับ มีเนื้อที่ที่ให้ผลผลิต

               แล้ว 3,700,508 3,767,791 และ 4,148,168 ไร่ตามล้าดับ มีการผลิตเพื่อใช้ภายในประเทศโดย
               แบ่งเป็น เพื่อการบริโภค 0.932 0.958 และ 0.955 ล้านตันตามล้าดับและน้ามาผลิตไบโอดีเซล 0.626
               0.772 และ 0.829 ล้านตันตามล้าดับ มีการส่งออก 411,926 725,222 และ 355,331 ตันตามล้าดับ
               มีมูลค่าการส่งออก 13,959 17,346 และ 11,300 ล้านบาทตามล้าดับ และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นทุกปี
               ประเทศไทยมีปริมาณการส่งออกเป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย ตลาดส่งออกที่ส้าคัญ

               ของไทยได้แก่ มาเลเซีย อินเดีย อิตาลี เมียนมา กัมพูชา (ส้านักเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) ส้าหรับแหล่ง
               ผลิตในภาคใต้ผลผลิตต่อไร่ลดลงเล็กน้อย เนื่องจากต้นปาล์มได้รับผลกระทบจากภาวะฝนทิ้งช่วง ในช่วงต้นปี
               2557 ส่งผลให้ต้นปาล์มขาดน้้าและเกษตรกรไม่สามารถดูแลใส่ปุ๋ยได้ตามรอบระยะเวลาการใส่ปุ๋ยท้าให้ผล

               ปาล์มเล็กลง และทะลายปาล์มน้้าหนักน้อยกว่าปกติ  ผลผลิตปาล์มน้้ามันของไทยทั้งหมดใช้ในการผลิตน้้ามัน
               ปาล์มดิบทั้งหมด โดยในปี 2557 น้้ามันปาล์มน้้ามันดิบใช้เพื่อการบริโภคภายในประเทศร้อยละ 52 เพื่อ
               ผลิตไบโอดีเซลร้อยละ 37 ส่งออกร้อยละ 11 ตลาดส่งออกน้้ามันที่ส้าคัญของไทยได้แก่ ตลาดอาเซียนร้อยละ
               58.65 สหภาพยุโรปร้อยละ 31.50 และประเทศอื่นๆร้อยละ 9.85 ความต้องการใช้น้้ามันปาล์มเพื่อผลิตไบ

               โอดีเซลมีปริมาณ 829,084 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 772,043 ตันในปี 2556 ร้อยละ 7.39 เนื่องจากกระทรวง
               พลังงานประกาศเพิ่มสัดส่วนการใช้ไบโอดีเซลเป็น B  ตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นมา (ส้านัก
                                                           7
               เศรษฐกิจการเกษตร, 2557)   นอกจากนี้รัฐบาลยังมีเป้าหมายในการขยายพื้นที่ปลูกทั้งพื้นที่ใหม่และปลูก
               ทดแทนในสวนเก่า ภายใต้แผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน้้ามันและน้้ามันปาล์ม ปี 2557-2564 รวมไปถึง

               การฟื้นฟูสวนปาล์มเดิมรับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% นาน 10 ปี (ศูนย์วิจัย
               กสิกรไทย, 2557) พบว่า การปลูกปาล์มน้้ามันของเกษตรกรบางพื้นที่เป็นดินเปรี้ยวจัดโดยเป็นดินที่ก่อให้เกิด
               ปัญหาเป็นอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยดินเปรี้ยวหรือดินกรดเป็นสาเหตุส้าคัญที่ท้า
               ให้การเจริญเติบโตและผลผลิตพืชตกต่้า เพราะท้าให้ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารหลักของพืชลดลง หรือ

               มีไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ธาตุอาหารหลักของพืชมีอยู่ในระดับต่้าคือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
               โพแทสเซียม ส่วนธาตุอาหารบางชนิดมีมากเกินความจ้าเป็นจนก่อให้เกิดอันตรายหรือแสดงความเป็นพิษต่อ
               พืช เช่น อะลูมินัม เหล็ก แมงกานีส ความเป็นกรดจัดยังมีผลต่อจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในดินและมีประโยชน์ต่อ

               พืชมีปริมาณลดลง (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2542) ในสภาพปัจจุบันไม่เหมาะในการปลูกพืชไร่ พืชผัก
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12