Page 5 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 5

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        1


                                             รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์

               ทะเบียนวิจัยเลขที่    61  63  04  08  010104  024  110  04  11
               ชื่อโครงการ           ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มน้้ามันในพื้น
                                     ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง

                                     Effect of using bio fertilizer and reduce chemical fertilizer   rate to

                                     increasing on oil plam in acid sulfate soil at  phattalung province.

               กลุ่มชุดดินที่        14    ชุดดินระแงะ (Rangae series: Ra)

               ผู้ด าเนินงานวิจัย    นางนงเยาว์  พฤฒิคณี นายนคร เพ็ขร์บุรี และนางพิมล อ่อนแก้ว


                                                         บทคัดย่อ

                        ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มน้้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด
               จังหวัดพัทลุง เริ่มต้นด้าเนินการ เดือนตุลาคม 2561 สิ้นสุด เดือนกันยายน 2563 โดยวางแผนการทดลอง
               แบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ มี 9 ต้ารับการทดลอง จ้านวน 3 ซ้้า ได้แก่ 1) แปลงควบคุม 2) วิธีเกษตรกร 3) ใส่
               ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้า 4) ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 5 กิโลกรัม

               ต่อต้น  5) ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อต้น 6) ใส่ 30
               % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น 7) ใส่ 40 % ปุ๋ยเคมีตาม
               อัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12  อัตรา 5  กิโลกรัมต่อต้น  8)  ใส่ 40  %  ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้า
               ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12  อัตรา 10  กิโลกรัมต่อต้น  9)  ใส่ 40  %  ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ย

               ชีวภาพ พด.12  อัตรา 15  กิโลกรัมต่อต้น  โดยท้าการศึกษาสมบัติทางเคมีของดิน การเจริญเติบโตและ
               ผลผลิตของปาล์มน้้ามัน ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ซึ่งสมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง พบว่า
               ค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH) มีค่าเพิ่มสูงขึ้นในต้ารับที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์เมื่อเปรียบเทียบกับต้ารับที่ไม่มี

               การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ความต้องการปูนของดินในต้ารับต้ารับที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์จะมีปริมาณลดลงเมื่อ
               เปรียบเทียบกับต้ารับที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ปริมาณอินทรียวัตถุของดินจะเพิ่มขึ้นทุกต้ารับ ปริมาณไนโตรเจน
               ทั้งหมดของดินลดลงในทุกต้ารับ ยกเว้นใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา
               15 กิโลกรัมต่อต้นและใส่ 40 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อ
               ต้น ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ แคลเซียม และแมกนีเซียมมีปริมาณ

               เพิ่มสูงขึ้นทุกต้ารับ การเจริญเติบโตและผลผลิตของปาล์มน้้ามัน พบว่า ต้ารับที่ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตรา
               แนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น จะมีผลท้าให้ค่าเฉลี่ยตลอดการทดลองของความ
               ยาวใบ ความกว้างใบ จ้านวนทะลาย และน้้าหนักสดผลผลิตของปาล์มน้้ามันมีค่ามากที่สุด เท่ากับ 81.43,

               4.39 เซนติเมตร 15.86 ทะลายต่อต้นต่อปี และ 3,392.64 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตามล้าดับ ส้าหรับต้นทุน
               และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่า ในปี 2561 มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรติดลบหรือขาดทุนทุกต้ารับ
               ในขณะที่ปี 2562 และ 2563 ต้ารับที่ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา
               15 กิโลกรัมต่อต้น มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรมากที่สุดเท่ากับ 1,389.08 และ 7,317.32 บาทต่อไร่

               ตามล้าดับ

               ค้าส้าคัญ :  ปาล์มน้้ามัน ดินเปรี้ยวจัด กลุ่มชุดดินที่ 14  ปุ๋ยชีวภาพ พด.12
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10