Page 28 - การศึกษาศักยภาพและการจัดการดินในพื้นที่ดินเค็มเพื่อการผลิตพืชสมุนไพรประจำท้องถิ่นไปสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม พี จี เอส กรณีศึกษาในพื้นที่ดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา Study of Soil quality and management of Saline Soil for local Herb production to Participatory Guarantee Systems (PGS) , Case study in Nakhon Ratchasima province.
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            28





              ตารางที่ 1  แสดงสมบัติทางเคมีของดินก่อนทำการทดลอง
                            สมบัติทางเคมีของดิน               ผลวิเคราะห์ดิน          ระดับ
               ระดับความเค็มของดิน (dS/m) (1:5)                    1.16               เค็มจัด

               ค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH H2O 1:1)              8.5             ด่างเล็กน้อย
               ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%)                         0.04               ต่ำมาก
               ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Bray II; mg/kg)             7                 ต่ำมาก
               โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (NH4OAc; mg/kg)          10                 ต่ำมาก


                          2.3  ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1
              ผลการวิเคราะห์ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1  ดังแสดงในตารางที่ 2


              ตารางที่ 2  แสดงสมบัติของปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1
                         ปริมาณธาตุอาหาร                   N               P2O5               K2O

               ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1            0.85             0.50              0.55

              ที่มา  :  ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน

                          2.4  ปริมาณธาตุอาหารพืชที่ได้รับจากปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1

                              ตำรับทดลองที่ 2 3 4 และตำรับทดลองที่ 5  มีการใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 เมื่อคิด
              เป็นปริมาณธาตุอาหารพืชที่ใส่ลงดิน พบว่าตำรับทดลองที่ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 2,000 กก./ไร่
              จะได้รับปริมาณไนโตรเจน ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นเท่ากับ 17.00 , 10.00 และ 11.00
              กก./ไร่ ตามลำดับ ในขณะที่ตำรับทดลองใช้ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 500 กก./ไร่ จะได้รับปริมาณ

              ไนโตรเจน ปริมาณฟอสฟอรัส และปริมาณโพแทสเซียมเพิ่มขึ้นเท่ากับ 4.25 , 2.50 และ 2.75 กก./ไร่ ตามลำดับ ดัง
              แสดงในตารางที่ 3

              ตารางที่ 3  แสดงปริมาณธาตุอาหารพืชที่ได้รับจากปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1

                                                                     ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1
                                ตำรับทดลอง                                     (กก./ไร่)
                                                                     N          P2O5         K2O

               1. ไม่ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1               -           -            -
               2. ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1                4.25        2.50         2.75
                   อัตรา 500 กก./ไร่
               3. ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1                8.50        5.00         5.50

                   อัตรา 1,000 กก./ไร่
               4. ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1               12.75        7.50         8.25
                   อัตรา 1,500 กก./ไร่
               5. ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1               17.00        10.00       11.00

                   อัตรา 2,000 กก./ไร่
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33