Page 27 - การศึกษาศักยภาพและการจัดการดินในพื้นที่ดินเค็มเพื่อการผลิตพืชสมุนไพรประจำท้องถิ่นไปสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม พี จี เอส กรณีศึกษาในพื้นที่ดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา Study of Soil quality and management of Saline Soil for local Herb production to Participatory Guarantee Systems (PGS) , Case study in Nakhon Ratchasima province.
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
27
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุ ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ์
(ซม.) แลกเปลี่ยน เบส ที่เป็นประโยชน์ ที่เป็นประโยชน์ ของดิน
แคตไอออน
0-25 ต่ำ ปานกลาง สูง ต่ำ ต่ำ ปานกลาง
25-50 ต่ำ ปานกลาง สูง ต่ำ ต่ำ ปานกลาง
50-100 ต่ำ ปานกลาง สูง ต่ำ ต่ำ ปานกลาง
ชุดดินที่คล้ายคลึงกัน ชุดดินอุดร
ข้อจำกัดการใช้ประโยชน์ เป็นดินเค็มด่าง มีเกลือโซเดียมสูงซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช มีโครงสร้างไม่
เหมาะสม
ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ ปรับปรุงดินโดยใช้อินทรียวัตถุและใส่ยิปซัม ปลูกพืชทนเค็ม และสร้างแหล่งน้ำ
สำรองไว้ใช้ในยามที่ฝนทิ้งช่วง
ภาพที่ 7 แสดงหน้าตัดชุดดินกุลาร้องไห้
2.2 สมบัติทางเคมีของดินก่อนทำการทดลอง
จากผลการทดลอง ผลวิเคราะห์ดินก่อนทำการทดลอง พบว่าปฏิกิริยาดินเป็นด่างเล็กน้อย pH มีค่า 8.5
ปริมาณอินทรียวัตถุในดินอยู่ในระดับต่ำมากเท่ากับ 0.04 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับ
ต่ำมากเท่ากับ 7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับต่ำมากเท่ากับ 10
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ดังแสดงในตารางที่ 1