Page 12 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                                                  ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ

                   ระยะเวลาด าเนินการ
                         - เริ่มต้น เดือน ตุลาคม 2560 สิ้นสุด เดือน ธันวาคม 2563

                   สถานที่ด าเนินการ
                         - บ้านหนองข่า ต าบลสระคู อ าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
                         - วิเคราะห์ตัวอย่างดินในการทดลอง ณ กลุ่มวิเคราะห์ดิน ต าบลสระคู อ าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

                         - พิกัดแปลงวิจัย  373294 E และ 1730624 N
                         - พื้นที่แปลงวิจัยจัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 40 ชุดดินโนนแดงที่มีศิลาแลงอ่อน (Ndg-pic-lsB)
                         สภาพพื้นที่ (Site characterization)
                        พื้นที่แปลงวิจัยอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 40 เป็นชุดดินโนนแดงที่มีศิลาแลงอ่อน (Ndg-pic-lsB) การก าเนิดเกิดจาก
                   การพัดพามาทับถมจากหินตะกอนเนื้อหยาบ  มีการจ าแนกดิน coarse-loamy  siliceous  semiactive
                   isohyperthermic Aquic (plinthic) Haplustalfs มีเนื้อดินเป็นพวกดินทรายปนดินร่วน ดินสีเทาหรือเทาปนน้ าตาล
                   พบสีจุดประสีน้ าตาลแกหรือสีเหลืองปนแดง มีความลาดชัน 0 – 2 % เป็นดินลึก การระบายน้ าดีปานกลางถึงค่อนข้าง
                   เลว  พบก้อนเหล็กสะสมในดินล่าง มีชั้นศิลาแลงอ่อนที่ความลึก 1 เมตร ได้รับอิทธิพลจากดินเค็มที่พบใกล้เคียง   มี
                   ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบน และเป็นกรดจัดมากในดินล่าง

                   (pH 4.-5.5) การระบายน้ า ดีปานกลางถึงค่อนข้างเลวการไหลบ่าของน้ าบนผิวดินและการซึมผ่านได้ของน้ า ปานกลาง
                         ข้อจ ากัดการใช้ประโยชน์ ความอุดมสมบูรณ์ต่ า สมบัติทางกายภาพไม่ดี ในฤดูแล้งดินจะแห้งจัด เสี่ยงต่อการ
                   ขาดแคลนน้ าส าหรับพืชในฤดูการเพาะปลูก ควรใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมีใส่เป็นจ านวนมากต่อไร่เพื่อปรับปรุง
                   สมบัติทางกายภาพ และทางเคมีของดินให้ดีขึ้น ควรท าทางระบายน้ าออกจากพื้นที่ หากใช้ปลูกพืชไร่ ไม้ผล ไม้ยืนต้น
                   และจัดหาแหล่งน้ าให้พอเพียงกับความต้องการของพืช
                         ปริมาณน้ าฝนรวม
                         ตั้งแต่เริ่มด าเนินการทดลองเดือนตุลาคม 2560   ถึงเดือนธันวาคม 2563 มีปริมาณน้ าฝนรวม

                   4,215.9  มิลลิเมตร จ านวนวันที่ฝนตกรวม  329  วัน มีการกระจายของน้ าฝน  ปีที่ 1  เริ่มเดือนตุลาคม
                   2560 ถึงเดือนธันวาคม 2561 เท่ากับ 1,397.8 มิลลิเมตร (ตารางภาคผนวกที่ 3) ปีที่ 2 เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ถึง
                   เดือนตุลาคม 2562 เท่ากับ 1,530.7 มิลลิเมตร (ตารางภาคผนวกที่ 4) และปีที่ 3 เริ่มเดือนมกราคมถึงเดือน
                   พฤศจิกายน 2563 เท่ากับ 1,287.4 มิลลิเมตร (ตารางภาคผนวกที่ 5)

                         อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือน
                         เริ่มด าเนินการทดลอง  ตั้งแต่เดือนตุลาคม  2560  ถึงเดือนธันวาคม 2563 โดยปีที่ 1  เริ่มเดือนตุลาคม
                   2560  ถึงเดือนธันวาคม 2561 มีอุณภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 22.89  องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 32.48  องศา
                   เซลเซียส (ตารางภาคผนวกที่ 3) ปีที่ 2 เริ่มเดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2562 มีอุณภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 23.88 องศา
                   เซลเซียส และและอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 34.16 องศาเซลเซียส (ตารางภาคผนวกที่ 4) และปีที่ 3 เริ่มเดือนมกราคมถึง

                   เดือนธันวาคม 2563 อุณหภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 23.58  องศาเซลเซียส และอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33.48  องศาเซลเซียส
                   (ตารางภาคผนวกที่ 5)
                         ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยรายเดือน
                         เริ่มด าเนินการทดลอง  ตั้งแต่เดือนตุลาคม  2560  ถึงเดือนธันวาคม 2563 โดยปีที่ 1  เริ่มเดือนตุลาคม
                   2560 ถึงเดือนธันวาคม 2561 มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 72.73 เปอร์เซ็นต์ (ตารางภาคผนวกที่ 3) ปีที่ 2 เริ่มเดือน
                   มกราคมถึงเดือนธันวาคม 2562 มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 69.92 เปอร์เซ็นต์ (ตารางภาคผนวกที่ 4) และปีที่ 3 เริ่ม
                   เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม 2563 มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 71.50 เปอร์เซ็นต์ (ตารางภาคผนวกที่ 5)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17