Page 8 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 8
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ทะเบียนวิจัยเลขที่ 61 63 17 09 20007 016 102 02 11
ชื่อแผนงานวิจัย (ภาษาไทย) วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวเพื่อส่งเสริมการ
เจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตข้าว
(ภาษาอังกฤษ) Research and Development Production of Bio-
fertilizer for rice cultivation to Growth Promotion and increasing
Rice Yield.
ชื่อโครงการวิจัย (ภาษาไทย) การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าว
ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย
จังหวัดร้อยเอ็ด
(ภาษาอังกฤษ) Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth
and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et
Province.
กลุ่มชุดดินที่ 40 ชุดดิน โนนแดงที่มีศิลาแลง (Ndg-pic-lsB)
สถานที่ด าเนินการ บ้านหนองข่า ต าบลสระคู อ าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
ผู้ร่วมด าเนินการ นางสาววรรณา สุวรรณวิจิตร Miss Wanna Suwannawijit
นางสาวกัญญาพร สังข์แก้ว Miss Kanyaporn Sungkaew
นางสาวพนิดา ปรีเปรมโมทย์ Miss Panida Preepremmot
นางสาวดารารัตน์ โฮตาก้า Miss Dararat Hotaka
บทคัดย่อภาษาไทย (Abstract-Thai)
การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอก
มะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด ด าเนินการ ณ บ้านหนองข่า ต าบลสระคู อ าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัด
ร้อยเอ็ด ระยะเวลาด าเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนธันวาคม 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ ส าหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดิน
ร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด วางแผนการทดลองแบบ Randomize Complete Block Design จ านวน 8 ต ารับ
การทดลอง 3 ซ้ า ประกอบด้วย ต ารับที่มีการไม่ใช้และใช้ผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพส าหรับนาข้าวรูปแบบน้ า ผงละลายน้ า
และปุ๋ยเคมีในอัตรา 0, 50 และ 70 เปอร์เซ็นต์ตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยมีการเก็บข้อมูล คือ การเปลี่ยนแปลงสมบัติ
ทางเคมีดิน การเจริญเติบโต ผลผลิตข้าว รวมทั้งปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ภายหลังการจัดการตามต ารับการทดลอง
จากผลการทดลองพบว่า พื้นที่ด าเนินการทดลองปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีลักษณะเนื้อดินเป็นดินร่วนปน
ทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินหลังจากด าเนินการทดลองเกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีในทางที่ดีขึ้น ดินมีค่า
ความเป็นกรดเป็นด่างเพิ่มขึ้น โดยเปลี่ยนแปลงจากกรดจัด-กรดแก่ เป็นกรดปานกลาง กรดเล็กน้อย และเป็นกลาง
ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน และฟอสฟอรัส แคลเซียม และแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์มีค่าเพิ่มขึ้น ส่วนปริมาณ
โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินมีค่าลดลง
การเจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1-3 ไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่มีแนวโน้มว่า ต ารับที่ใช้ปุ๋ย
ชีวภาพรูปแบบผงละลายน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน ท าให้ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1-3
มีจ านวนต้นต่อกอมากที่สุด ส าหรับผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต มีค่าไม่แตกต่างกันทั้ง 3 ปี ยกเว้นเฉพาะจ านวน
เมล็ดต่อรวงในปีที่ 3 มีค่าแตกต่างกันทางสถิติ ซึ่งพบว่า การใช้ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงละลายน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี 70
เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน มีจ านวนเมล็ดข้าวต่อรวงมากที่สุด เท่ากับ 151 เมล็ดต่อรวง เมื่อเทียบกับแปลง
ควบคุม ซึ่งมีจ านวนเมล็ดต่อรวง เท่ากับ 141 เมล็ดต่อรวง
การใส่ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผงละลายน้ า ร่วมกับปุ๋ยเคมี 50 และ 70 เปอร์เซ็นต์ ตามค่าวิเคราะห์ดิน ตามล าดับ
ท าให้ดินหลังเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ Azospirillium sp. สูง และมีค่าแตกต่างทาง