Page 16 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในดินร่วนปนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด Study efficiency of Bio- fertilizer to increase growth and rice (Khao Dok Mali 105) yield and sandy loam soil, Roi Et Province.
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                   ตารางที่ 2 ค่าการน าไฟฟ้าของดิน ปี 2561-2563

                                                                       ค่าการน าไฟฟ้า (EC : dS/m)
                             ต ารับการทดลอง                        ปี 2561            ปี 2562      ปี 2563
                                                               ก่อน              หลัง   หลัง        หลัง

                    T1 ควบคุม                                0.03         0.05         0.04         002
                    T2 ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน            0.03         0.06         0.04         0.02
                    T3 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า                  0.03         0.03         0.03         0.03
                    T4 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50 %   0.02        0.07         0.04         0.03
                    T5 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70 %   0.03        0.05         0.03         0.02
                    T6 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง                    0.03         0.09         0.03         0.03
                    T7 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50 %    0.03          004         0.04         0.02

                    T8 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70 %    0.02         0.07         0.04         0.02
                                   F-test                     ns           ns           ns           ns
                                  C.V. (%)                   29.20        41.63        27.99       24.31
                   หมายเหตุ : ns หมายถึง ค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

                         1.3  ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (Organic  matter) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยอินทรียวัตถุในดินก่อนการ
                   ทดลองมีค่าอยู่ในเกณฑ์ต่ ามากถึงต่ า และดินหลังการทดลองมีค่าสูงขึ้น อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง (ตารางที่
                   3) อาจเนื่องจากเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน ซึ่งเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า จึงมีอินทรียวัตถุในดินต่ า

                   ตารางที่ 3 ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ปี 2561-2563

                                                                     ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (%OM)
                             ต ารับการทดลอง                        ปี 2561            ปี 2562      ปี 2563
                                                               ก่อน              หลัง   หลัง        หลัง
                    T1 ควบคุม                                0.47         0.63         1.27         1.45

                    T2 ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน            0.51         0.49         0.94         1.28
                    T3 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า                  0.57         0.45         1.00         2.00
                    T4 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 50 %   0.58        0.57         1.15         1.40
                    T5 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบน้ า + ปุ๋ยเคมี 70 %   0.57        0.86         1.06         1.23
                    T6 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง                    0.51         0.72         1.19         1.47
                    T7 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 50 %    0.45         0.40         1.32         1.73
                    T8 ปุ๋ยชีวภาพรูปแบบผง + ปุ๋ยเคมี 70 %    0.50         0.66         1.28         0.96
                                   F-test                     ns           ns           ns           ns

                                  C.V. (%)                   25.85        32.99        31.04       28.33
                   หมายเหตุ : ns หมายถึง ค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

                         1.4 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน (Available P) ทั้งก่อนและหลังการทดลองมีค่าไม่แตกต่างกัน
                   (ตารางที่ 4) ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารต่างๆ  ในดิน ที่พืชจะดูดซึมเอาไปใช้ได้ง่าย
                   ขึ้นอยู่กับระดับ pH ของดินเป็นอย่างมาก ฟอสฟอรัสจะอยู่ในรูปของสารละลายที่พืชน าไปใช้ได้ง่าย เมื่อดินมี pH อยู่
                   ระหว่าง 6.0-7.0  ถ้าดินมี pH  สูง หรือต่ ากว่าช่วงนี้ ความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสจะลดน้อยลง  ในท านอง
                   เดียวกัน ดินหลังด าเนินการทดลองมีความเป็นกรดปานกลาง กรดเล็กน้อย และเป็นกลาง (ตารางที่ 1 และ 4) ซึ่ง pH
                   ของดินในช่วงดังกล่าว มีผลให้ระดับความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินเพิ่มขึ้น ส่งเสริมฟอสเฟตให้อยู่ในรูปที่
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21