Page 7 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 7

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                               7





                                                            วัตถุประสงค์
                   1.เพื่อหาวิธีการจัดการดินที่มีประสิทธิภาพเพื่อปลูกมันส าปะหลังทดแทนข้าวในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว

                   2. เพื่อการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดิน

                   3. เพื่อศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ



                                                           การตรวจเอกสาร

                   1. การจัดการเขตเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว


                          กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการจัดท าเขตเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวโดยวิเคราะห์ความเหมาะสมของ

                   ดิน กับปัจจัยความต้องการของพืชแต่ละชนิดได้มีการก าหนดพืชไว้ 6 ชนิดเศรษฐกิจ ได้แก่ ข้าว, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, มัน
                   ส าปะหลัง, ทุเรียน, ล าไย, มะม่วง, มังคุด, เงาะ, ส้มโอ, มะพร้าวน้ าหอม, สับปะรด, ปาล์มน้ ามัน และผัก ซึ่งได้มีการ

                   ด าเนินการจัดท าประกาศก าหนดเขตเหมาะสมส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจให้กับ

                   เกษตรกรได้มีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมและเหมาะสมน้อยส าหรับการปลูกข้าวไปปลูกพืชชนิดอื่นที่มีความ

                   เหมาะสมและเป็นที่ต้องการของตลาด (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2556) จากการส ารวจข้อมูลพบว่าในจังหวัด

                   อุบลราชธานีมีเขตเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวมีมากถึง   8,441,301   ไร่ และยังมีเกษตรกร

                   ด าเนินการปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวมากถึงร้อยละ 43 (3,629,123 ไร่) ฉะนั้นหากมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่ดังกล่าวมาปลูก

                   มันส าปะหลังซึ่งเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแห้งแล้งเป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นพืชที่ก าลังเป็นที่ต้องการของโรงงาน
                   อุตสาหกรรม


                   2. การจัดการดินที่เหมาะสมส าหรับการเพิ่มผลผลิตมันส าปะหลัง


                         มันส าปะหลัง Manihot esculenta Crantz.  เป็นพืชที่ปลูกง่ายโดยทั่วไปมันส าปะหลังสามารถขึ้นได้ดีในดินทุก

                   ชนิด ชอบดินร่วนปนทราย ทนต่อความแห้งแล้งและปลูกได้ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปรับตัวได้ดีในดินที่มีสภาพเป็น

                   กรดจัดเช่น ในดินที่มีค่า pH ต่ ากว่า 4.4 ก็ไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตมันส าปะหลัง  มีโรคและแมลงรบกวนน้อย และมีการ

                   ดูแลไม่ยุ่งยาก หัวสดมีตลาดรองรับแน่นอน การขุดเก็บเกี่ยวไม่ขึ้นกับฤดูกาลสามารถจะชะลอการเก็บเกี่ยวได้ และยังเป็น

                   พืชเศรษฐกิจที่มีความส าคัญอันดับต้น ๆ  ของประเทศไทย เป็นพืชที่ท ารายได้ให้เกษตรกรมากเป็นอันดับที่ 4  รองจาก

                   ยางพารา อ้อยและข้าว


                         ในปี 2554/2555  จังหวัดอุบลราชธานีมีพื้นที่ปลูกมันส าปะหลังมากถึง 202,872 ไร่ พันธุ์ที่ได้รับความนิยมมากใน

                   ปัจจุบันคือ ห้วยบง 60  ซึ่งให้ผลผลิตหัวสดสูงกว่าพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50  และพันธุ์อื่นๆ ประกอบกับหัวมีปริมาณแป้ง
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12