Page 10 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              10





                                                    ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ


                   1. ระยะเวลาที่ท าการวิจัย
                          เริ่มต้น  เดือนตุลาคม 2560   สิ้นสุด เดือนธันวาคม 2563

                   2. สถานที่ด าเนินการ

                          2.1 ด าเนินการแปลงทดลอง

                             2.1.1 สถานที่ตั้งหมู่ 7 ต. นาเยีย อ. นาเยีย จ. อุบลราชธานี

                             2.1.2 ค่าพิกัดที่ 48P  E508568  และ N1662704
                             รายละเอียดสภาพพื้นที่ (Site Characterization)

                            จากการด าเนินการทดลองในพื้นที่หมู่ 7 ต. นาเยีย อ. นาเยีย จ. อุบลราชธานีค่าพิกัดที่ 48P  E508568  และ

                   N1662704    พบว่า เป็นชุดดินคง (Kng) จัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 37A  เป็นกลุ่มดินร่วนหยาบลึกปานกลางที่เกิดจากการ

                   สลายตัวหรือพัดพาตะกอนเนื้อหยาบมาทับถมบนชั้นหินผุในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็น

                   กรดจัดมาก การระบายน้ าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่ า พื้นที่ท าการวิจัยนี้เป็นพื้นที่ดอน และมีความเหมาะสม

                   เล็กน้อย (S3) ในการปลูกมันส าปะหลัง (http://agri-map-online.moac.go.th/) พื้นที่ด าเนินการนี้เกษตรกรได้มีการ

                   ปลูกมันส าปะหลังมากกว่า 5 ปี
                          2.2 ด าเนินการแปลงถ่ายทอดเทคโนโลยี

                                 2.2.1 สถานที่ตั้ง ม.2 ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อุบลราชธานี (ค่าพิกัดที่ 48P E472888  N1694036), ม.3

                   และ ม.4 ต.บ้านไทย อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี  (ค่าพิกัดที่ 48P E438450 N1706052 และ E438465 N1706021)

                                  จากการด าเนินการในแปลงเกษตรกร พบว่า เป็นชุดดินมหาสารคาม (Msk) ในกลุ่มชุดดินที่ 41 จัดอยู่ใน

                   loamy, siliceous Oxyaquic Haplustalfs เกิดจากตะกอนล าน้ าหรือตะกอนเนื้อหยาบทับอยู่บนชั้นดินที่มีเนื้อดินเป็น
                   ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นกลาง การระบายน้ าดีอยู่บนชั้นดินที่มีการระบายน้ าดี

                   ปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่ า



                                                          อุปกรณ์และวิธีการ

                   1. อุปกรณ์
                          1.1 มันส าปะหลังพันธุ์ ระยอง 72

                          1.2 ไม้เมตรวัดความสูง

                          1.3 ตาชั่ง และตะกร้าใส่ผลผลิต
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15