Page 3 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                               3





                   ทะเบียนวิจัยเลขที่ 61 63 01 12 030000 102 01 11
                   ชื่อโครงการ   การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันส าปะหลัง ในเขตพื้นที่


                   ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม

                                 The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas

                   Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.

                   กลุ่มชุดดินที่  37A  ชุดดิน (ภาษาไทย) คง     (ภาษาอังกฤษ)  Series Kng

                   ผู้ร่วมด าเนินการ   นางสาววรรณา สุวรรณวิจิตร

                                      นางสาวกัญญาพร  สังข์แก้ว

                                      นายรัตนะ สุตาค า



                                                 บทคัดย่อภาษาไทย (Abstract-Thai)


                          จากการด าเนินโครงการจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันส าปะหลัง ในเขต

                   พื้นที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม  ในช่วงเดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนธันวาคม 2563 ณ  ต.

                   นาเยีย อ. นาเยีย จ. อุบลราชธานี ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 37A ชุดดินคง (Kng) โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD

                   จ านวน 4 ซ้ า ประกอบด้วย 5 วิธีการ ได้แก่ วิธีการที่  1 แปลงควบคุม วิธีการที่ 2 วิธีการของเกษตรกร วิธีการที่ 3 ใส่
                   ปุ๋ยเคมีตามโปรแกรมค าแนะน าปุ๋ยรายแปลง วิธีการที่ 4 ใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ และวิธีการที่

                   5 ใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราแนะน าของปุ๋ยโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง) ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ พบว่า

                   วิธีการที่ 4 และ 5  ท าให้ค่า  pH   ของดินปีที่ 2 มีแนวโน้มยกระดับความเป็นกรด  แต่ไม่มีผลท าให้อินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น

                   ด้านความสูงต้นมันส าปะหลังพันธุ์ระยอง 72 ในปีที่ 2 ความสูงต้นมีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ซึ่งวิธีการที่ 2

                   วิธีเกษตรกรที่มีการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ท าให้ต้นมันส าปะหลังที่อายุ 240 วัน สูงสุดเท่ากับ
                   178.47 เซนติเมตร ทรงพุ่มของต้นมันส าปะหลัง ที่อายุ 80 120 และ 240 วันหลังปลูกปีที่ 1 และ 2 ไม่มีความแตกต่าง

                   กันทางสถิติ ผลผลิตหัวมันส าปะหลังสด ปีที่ 1 วิธีการที่ 5 ท าให้น้ าหนักหัวมันสดมีค่าสูงสุดเท่ากับ 6,938.00 กิโลกรัมต่อ

                   ไร่ แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทางสถิติ ปีที่ 2 ผลผลิตหัวมันสด จ านวนหัว และเปอร์เซ็นต์แป้ง ไม่มีความแตกต่างทาง

                   สถิติ

                       แปลงถ่ายทอดเทคโนโลยีขยายผลสู่พื้นที่เกษตร จัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 41 ชุดดินมหาสารคาม ลักษณะเนื้อดิน
                   เป็นทราย เป็นแปลงที่อยู่ในพื้นที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว โดยแนะน าวิธีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50
   1   2   3   4   5   6   7   8