Page 12 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              12





                   พันธุ์จะเสื่อมและอัตราการงอกจะลดลงได้ ท าการปลูกมันส าปะหลังในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน โดยวิธีการ
                   ปลูกควรปลูกแบบปักซึ่งอาจจะเป็นการปักแบบเอียงหรือแบบตรง ปักลึกประมาณ 10-15  เซนติเมตร  ใช้ระยะปลูก

                   100x80 เซนติเมตร

                                       4.3 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรกรมพัฒนาที่ดินมีปรับสูตรให้เหมาะสมกับวัสดุที่มีอยู่

                   ในท้องถิ่นโดยใช้ส่วนผสมในการผลิตปริมาณ 100 กิโลกรัม ประกอบด้วย มูลไก่ จ านวน  60 กิโลกรัม หินฟอสเฟต 30

                   กิโลกรัม และ ร าละเอียด 10 กิโลกรัม
                                       4.4 การใส่ปัจจัยในแต่ละต ารับการทดลอง

                                          1) การใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ในต ารับที่ 4 และ 5 อัตรา 100 และ 50 กิโลกรัมต่อไร่ ท า

                   การแบ่งใส่ 2 ครั้งคือ ครั้งแรกใส่เมื่อมันส าปะหลังอายุได้ 1 เดือน ครั้งที่ 2 ใส่เมื่อมันส าปะหลังอายุได้ 3 เดือน

                                          2) ใส่ปุ๋ยเคมีตามโปรแกรมค าแนะน าการจัดการดินและปุ๋ยรายแปลง ตามต ารับในต ารับที่

                   3 และ 5 ในอัตราตามค่าประเมินต้นทุนธาตุอาหารในดินก่อนการทดลอง
                                          3) การจัดการตามวิธีการเกษตรกรในพื้นที่จากการสัมภาษณ์ของเกษตรกรเจ้าของพื้นที่

                                       4.4  การเก็บเกี่ยวผลผลิต เก็บผลผลิตมันส าปะหลังเมื่ออายุ 9-11 เดือน

                             2.2 การเก็บข้อมูล


                                  1. ข้อมูลมันส าปะหลัง ท าการเก็บข้อมูลมันส าปะหลังที่อายุ 3 เดือน

                                         - วัดการเจริญเติบโตของล าต้นครั้งที่ 1 เมื่ออายุ 1, 2  และ 3 เดือน

                                       - เก็บองค์ประกอบผลผลิตของมันส าปะหลัง ได้แก่ จ านวนหัวต่อต้น น้ าหนักหัวต่อต้น และ

                   ผลผลิตหัวสดต่อพื้นที่

                                    2. ข้อมูลดิน สุ่มเก็บตัวอย่างดินทั้งก่อนและหลังการทดลองที่ระดับความลึก  15-30 เซนติเมตร เพื่อ
                   วิเคราะห์สมบัติทางเคมีของดิน ได้แก่ ค่า pH,  EC,  OM,  ปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดิน

                   ปริมาณแคลเซียมและแมกนีเซียม

                                   3.  ข้อมูลเศรษฐกิจ รวบรวมข้อมูลด้านเศรษฐกิจก่อนด าเนินการในพื้นที่ที่เหมาะสมน้อยและไม่

                   เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวเพื่อน ามาเป็นข้อมูลเปรียบเทียบเมื่อมีการปรับเปลี่ยนพืชชนิดอื่น และท าการเก็บข้อมูล

                   ต้นทุนการผลผลิต รายได้ มูลค่าผลผลิต ทั้งการผลิตข้าวและมันส าปะหลัง
                             2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) ด้วย

                   ตาราง ANOVA และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี  Least Significant Difference (LSD)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17