Page 19 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              19





                   ดังกล่าวเกษตรกรได้ท าการเกษตรโดยมีการปลูกมันส าปะหลังมาแล้ว และบางปีเกษตรกรได้มีการปลูกข้าว แต่ผลผลิตที่
                   ได้ยังต่ ากว่ามาตรฐาน เมื่อน าพื้นที่เกษตรกรเข้าร่วมด าเนินการทดลองขยายผลจึงได้ข้อมูลดิน ข้อมูลการเจริญเติบโต และ
                   ข้อมูลผลผลิตมันส าปะหลัง ดังตารางที่ 5 และ 6


                       4.1 ผลการจัดการดินในแปลงเกษตรกร

                       แปลงที่ 1 2 และ 3 แปลงเกษตกร ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อุบลราชธานี จ านวน 1 แปลง และ ต.บ้านไทย อ.
                   เขื่องใน จ.อุบลราชธานี จ านวน 2 แปลง จัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 41 ชุดดินมหาสารคาม ลักษณะเนื้อดินเป็นทราย แปลงที่

                   คัดเลือกให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าว เป็นแปลงที่อยู่ในพื้นที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว เนื่องจากเป็นพื้นที่ดอน
                   การด าเนินงานในช่วงเตรียมดินมีการหว่านมูลไก่ จ านวน 500 กิโลกรัมต่อไร่ และท าการปลูกมันส าปะหลังพันธุ์ระยะอง

                   72 ต้นเดือนพฤษภาคม 2563 ระยะปลูก 80x100 เซนติเมตร หลังจากปลูกมันส าปะหลังที่อายุ 30 วัน (1 เดือน) แบ่งใส่
                   ปุ๋ยครั้งที่ 1 และใส่ปุ๋ยมันส าปะหลังที่อายุ 90 วัน (3 เดือน) ในครั้งที่ 2  ได้แก่ ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัม
                   ต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี ครึ่งอัตราตามปริมาณธาตุอาหารที่พืชต้องการ (มันส าปะหลังมีความต้องการธาตุอาหาร N:P:K

                   เท่ากับ 16 : 4 : 16 กก./ไร่) โดยการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร N (46-0-0) เท่ากับ  31 กก./ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร P  (18-46-0) เท่ากับ 9
                   กก./ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร K   (0-0-60) เท่ากับ 27 กก./ไร่  (การใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราคือการใส่ปุ๋ยลดลง ½ ของปริมาณความ

                   ต้องการธาตุอาหารพืช)
                       ผลการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีดินทั้ง 3 แปลง พบว่า ก่อนการทดสอบค่าความเป็นกรด-ด่าง ในดินอยู่ในช่วง

                   4 . 2 -4.7 (กรดจัด) ปริมาณอินทรียวัตถุ อยู่ในช่วง 0.52-0.73 เปอร์เซ็นต์ (ต่ า) ฟอสฟอรัสที่เป็นประ
                   โยชน์ อยู่ในช่วง 11-18 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ปานกลาง) และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ อยู่ในช่วง 21-28 มิลลิกรัมต่อ

                   กิโลกรัม (ต่ ามาก) หลังการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี ครึ่งอัตราตามปริมาณธาตุ
                   อาหารที่พืชต้องการ พบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่าง ในดินอยู่ในช่วง 5.1-6.0 (กรดจัด-กรดเล็กน้อย) ปริมาณอินทรียวัตถุ

                   อยู่ในช่วง 0.27-0.40 เปอร์เซ็นต์ (ต่ ามาก) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ อยู่ในช่วง 45-69 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (สูงมาก)
                   และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ อยู่ในช่วง 20-26 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (ต่ ามาก) เนื่องจากการเพิ่มความเป็นประโยชน์

                   กับต้นมันส าปะหลังด้วยปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงส่งเสริมให้พืชได้รับธาตุอาหาร และมีการปลดปล่อยธาตุอาหารสู่พืชอย่าง
                   ช้าๆ ในขณะที่การใส่ปุ๋ยเคมีท าให้พืชได้รับธาตุอาหารในขณะนั้นได้เลย
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24