Page 24 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              24





                          3. ผลผลิตหัวมันส าปะหลังสด ปีที่ 1 วิธีการใส่ ½  ปุ๋ยเคมี (ตามโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์
                   คุณภาพสูง อัตรา 50  กิโลกรัมต่อไร่ ท าให้น้ าหนักหัวมันสดมีค่าสูงสุดเท่ากับ 6,938.00 กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างอย่างมี

                   นัยส าคัญยิ่งทางสถิติ ปีที่ 2 ผลผลิตหัวมันสด จ านวนหัว และเปอร์เซ็นต์แป้ง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ผลผลิตหัวมันสด

                   ต่อไร่ ในทุกวิธีการมีค่าเฉลี่ย อยู่ในช่วง 3,695.6-3,986.7 กิโลกรัมต่อไร่ จ านวนหัวต่อต้นเฉลี่ย 14-16 หัวต่อต้น และ

                   เปอร์เซ็นต์แป้ง เฉลี่ย 19.80-21.00 เปอร์เซ็นต์


                       4. แปลงถ่ายทอดเทคโนโลยีขยายผลสู่พื้นที่เกษตร จัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 41 ชุดดินมหาสารคาม ลักษณะเนื้อดิน
                   เป็นทราย เป็นแปลงที่อยู่ในพื้นที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว เนื่องจากเป็นพื้นที่ดอน โดยแนะน าวิธีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์

                   คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี ครึ่งอัตราตามปริมาณธาตุอาหารที่พืชต้องการ (แปลงมันส าปะหลัง
                   ของเกษตรกรมีความต้องการธาตุอาหาร N:P:K เท่ากับ 16 : 4 : 16 กก./ไร่) โดยการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร N (46-0-0) เท่ากับ

                   15.50 กก./ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร P  (18-46-0) เท่ากับ 4.50 กก./ไร่ ปุ๋ยเคมีสูตร K  (0-0-46) เท่ากับ 13.50 กก./ไร่  (การใส่
                   ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราคือการใส่ปุ๋ยลดลง ½ ของปริมาณความต้องการธาตุอาหารพืช) ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตหัวมัน

                   ส าปะหลังสด แปลงเกษตรกรที่ร่วมด าเนินการได้ผลผลิตหัวมันส าปะหลังสดเฉลี่ยเท่ากับ 4,844 กิโลกรัมต่อไร่  จ านวน
                   หัวต่อต้นเฉลี่ยเท่ากับ 15 หัวต่อต้น และมีเปอร์เซ็นต์แป้งของหัวมันส าปะหลังสด เฉลี่ยเท่ากับ 20.47 เปอร์เซ็นต์


                       5.  ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ผลิตมันส าปะหลังในแปลงถ่ายทอดเทคโนโลยีพื้นที่ไม่เหมาะสม

                   ส าหรับการปลูกข้าว เกษตรกรได้ผลผลิตหัวมันส าปะหลังสดเฉลี่ย 4,844 กิโลกรัมต่อไร่ ณ ราคาที่จ าหน่าย 1.80 บาทต่อ
                   กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าผลผลิตเฉลี่ย 8,719.20 บาทต่อไร่ จากมูลค่าผลผลิตดังกล่าวเกษตรกรจะได้รับผลตอบแทนเหนือ

                   ต้นทุนเงินสดเฉลี่ย 5,103.03  บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปรเฉลี่ย 5,107.70  บาทต่อไร่ และผลตอบแทนเหนือ
                   ต้นทุนทั้งหมดขาดทุนเฉลี่ย 2,157.70  บาทต่อไร่ มีอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (BCR) เท่ากับ 1.33 ต้นทุนทั้งหมดต่อ
                   กิโลกรัมเฉลี่ย 1.35 บาท ต้นทุนผันแปรต่อกิโลกรัมเฉลี่ย 0.75 บาท และมีระดับราคาคุ้มทุนเฉลี่ย 1.35 บาทต่อกิโลกรัม




                                                           ประโยชน์ที่ได้รับ


                          1.  สามารถจัดการเขตการใช้ที่ดินที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอย่างอื่นที่มีความ

                   เหมาะสมและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน
                          2. การลดพื้นที่การปลูกข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูก โดยปรับเปลี่ยนมาปลูกมันส าปะหลังทดแทน

                   โดยการจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต
                          3. แนวทางการจัดการดินที่เหมาะสมส าหรับการปลูกมันส าปะหลังเพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งให้แก่เกษตรกรในพื้นที่

                   ที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูก
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29