Page 18 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              18





                   ตารางที่ 4 ข้อมูลด้านผลผลิตหัวมันส าปะหลังสดปีที่ 1 และ 2 อายุ 11 เดือน (ปีการผลิต 2561/62 และ 2562/63)
                                 วิธีการ                ผลผลิต (ปีการผลิต 2561/62)    ผลผลิต (ปีการผลิต 2562/63)
                                                      จ านวน นน.ผลผลิต  เปอร์เซ็นต์ จ านวน      นน.    เปอร์เซ็นต์

                                                       หัว    ต่อไร่ (กก.)   แป้ง     หัวต่อ  ผลผลิต      แป้ง
                                                                            (%)        ต้น     ต่อไร่     (%)

                                                                                               (กก.)
                    T1= แปลงควบคุม                     16     4,975.70e     20.88      15     3,891.1    19.80

                    T2= วิธีการของเกษตรกร              15     5,512.50d     21.68      15     3,931.1    20.57
                    T3= ใส่ปุ๋ยเคมีตามโปรแกรมค าแนะน า  14    5,995.25c     21.00      15     3,986.7    21.00

                    ปุ๋ยรายแปลง
                    T4= ใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา   14   6,365.25b     21.13      16     3,695.6    19.92

                    100 กิโลกรัมต่อไร่
                    T5 = ½ ปุ๋ยเคมี (ตามโปรแกรมฯ) + ปุ๋ย  15   6,938.00a    20.80      14     3,846.7    20.07

                    อินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัม
                    ต่อไร่

                    F-test                              ns        **         ns        ns       ns        ns
                                  %CV                  7.03      3.72       3.15      10.73    10.74     8.67


                   4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตมันส าปะหลัง โดยขยายผลในแปลงเกษตรกร

                       จากการด าเนินงานในแปลงทดลองมันส าปะหลัง ภายใต้การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่
                   เหมาะสมต่อการปลูกมันส าปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ในปีการผลิตที่

                   2561/62 และ 2562/63 (ปีที่ 1 และปีที่ 2) สรุปได้ว่าผลผลิตมันส าปะหลัง เก็บเกี่ยวที่อายุ 11 เดือนหลังปลูก (ปีการ
                   ผลิตที่ 2561/62 ในปีที่ 1) พบว่า วิธีการใส่ ½  ปุ๋ยเคมี (ตามโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง
                   อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ท าให้น้ าหนักหัวมันสดมีค่าสูงสุดเท่ากับ 6,938.00 กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญยิ่งทาง

                   สถิติ โดยมีจ านวนหัวมันสดเฉลี่ย 15 หัวต่อต้น และเปอร์เซ็นต์แป้ง 20.80 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับการ
                   ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยส่งเสริมให้การดูดใช้ธาตุอาหารในดินดีขึ้นประกอบกับการให้ปุ๋ยอยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่ดิน

                   มีความชุ่มชื้นจากน้ าฝนธรรมชาติจึงเกิดประสิทธิภาพการดูดซับมากขึ้น และการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ซึ่งผลิตในรูปแบบ
                   คุณภาพสูงโดยมีส่วนประกอบของ มูลไก่ และมูลวัว หินฟอสเฟต ร าข้าว ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทั้งด้านสมบัติทางเคมี

                   ดิน และกายภาพในดินได้เป็นอย่างดีด้วย
                       ดังนั้น จึงน าข้อสรุปดังกล่าวมาถ่ายทอดเทคโนโลยีในแปลงเกษตรกรโดยน าวิธีการใส่ ½ ปุ๋ยเคมี (ตามโปรแกรม

                   ปุ๋ยรายแปลง) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ มาร่วมด าเนินการในแปลงปลูกมันส าปะหลังเพื่อ
                   ขยายผลในแปลงเกษตรกร ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ด าเนินการ 3 พื้นที่ จัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 41 เป็นดินทรายจัด ซึ่งพื้นที่
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23