Page 17 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              17





                   ตารางที่ 3 ข้อมูลด้านความทรงพุ่มของต้นมันส าปะหลังพันธุ์ระยอง 72 ที่อายุ 80 120 และ 240 วัน หลังปลูกปีที่ 1
                          และ 2 (ปีการผลิต 2561/62 และ 2562/63)
                      วิธีการ                                 ทรงพุ่ม (เซนติเมตร)

                                                 ปีที่ 1                                ปีที่ 2

                                  80 วัน       120 วัน       240 วัน       80 วัน       120 วัน     240 วัน
                        T1         90.98        108.98        73.95        74.87         81.02       79.67
                        T2         95.93        109.35        76.83        75.17         80.30       82.35

                        T3         97.50        114.03        85.73        76.00         80.20       78.52
                        T4         94.18        109.43        84.85        71.27         75.00       78.25

                        T5         99.90        116.30        89.65        73.77         76.55       84.52
                      F-test        ns           ns            ns            ns           ns           ns

                       %CV         7.44          5.78         12.46         5.58         6.34         5.58


                   3. ผลผลิตมันส าปะหลัง
                            ข้อมูลผลผลิตมันส าปะหลังที่อายุ 11 เดือน ได้แก่ ผลผลิตหัวมันสด จ านวนหัว และเปอร์เซ็นต์แป้ง ของมัน

                   ส าปะหลัง ในปีการผลิต 2561/62 (ปีที่ 1) พบว่า วิธีการใส่ ½ ปุ๋ยเคมี (ตามโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง) ร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์
                   คุณภาพสูง อัตรา 50  กิโลกรัมต่อไร่ ท าให้น้ าหนักหัวมันสดมีค่าสูงสุดเท่ากับ 6,938.00 กิโลกรัมต่อไร่ แตกต่างอย่างมี

                   นัยส าคัญยิ่งทางสถิติ รองลงมาคือวิธีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 100  กิโลกรัมต่อไร่ วิธีการใส่ปุ๋ยเคมีตาม
                   โปรแกรมค าแนะน าปุ๋ยรายแปลง วิธีการของเกษตรกร และแปลงควบคุม (ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 6,365.25

                   5,995.25  5,512.50 และ 4,975.70 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ เนื่องจากปริมาณความต้องการปุ๋ยของมันส าปะหลัง N-P-
                   K เท่ากับ 8-2-4 กิโลกรัมต่อไร่ (ปุ๋ยเคมีสูตร 18-46-0 อัตรา 4 กก./ไร่ สูตร 46-0-0 อัตรา  16 กก./ไร่ และ สูตร 0-0-60

                   อัตรา 7 กก./ไร่) โดยวิธีการที่ 5 ได้ใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราร่วมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตรา 50 กก./ไร่ ส่งผลให้ได้ผล
                   ผลิตหัวมันสดสูงสุด ขณะที่จ านวนหัวมันส าปะหลัง และเปอร์เซ็นต์แป้งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 4)
                          ปีการผลิต 2562/63 (ปีที่ 2) ผลผลิตหัวมันสด จ านวนหัว และเปอร์เซ็นต์แป้ง ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ

                   ผลผลิตหัวมันสดต่อไร่ ในทุกวิธีการมีค่าเฉลี่ย อยู่ในช่วง 3,695.6-3,986.7 กิโลกรัมต่อไร่ จ านวนหัวต่อต้นเฉลี่ย 14-16
                   หัวต่อต้น และเปอร์เซ็นต์แป้ง เฉลี่ย 19.80-21.00 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 4)
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22